21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 823<br />

ถูกยึดครองโดยใชกําลัง<br />

· สงเสริมการมีสวนรวมของรัฐสมาชิกในกระบวนการตัดสินใจดานการเมือง เศรษฐกิจ และ<br />

สังคมในเวทีโลก<br />

· สงเสริมความสัมพันธระหวางรัฐบนพื้นฐานของความยุติธรรม<br />

ความเคารพตอกัน และความ<br />

เปนมิตรประเทศที่ดี<br />

เพื่อกอใหเกิดสันติภาพ<br />

ความมั่นคง<br />

และความสมานฉันทในโลก<br />

· ยืนยันการสงเสริมสิทธิของประชาชนกลุ มตางๆ ตามบทบัญญัติของกฎบัตร UN และกฎหมาย<br />

ระหวางประเทศ<br />

· สนับสนุนการมีสิทธิของชาวปาเลสไตนในการกําหนดใจตนเองเพื่อสถาปนารัฐอธิปไตย<br />

ที่มีอัลกุดส<br />

(เยรูซาเล็ม) เปนเมืองหลวง<br />

· สงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจและการคาในโลกอิสลามที่จะนําไปสู<br />

การจัดตั้งตลาดรวม<br />

อิสลาม (Islamic Common Market)<br />

· สงเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของรัฐสมาชิกอยางรอบดานและยั่งยืนเพื่อใหมีความ<br />

เปนอยูที่ดี<br />

· สงเสริมการเผยแผคําสอนของศาสนาอิสลามตามแนวทางสายกลาง<br />

· ปกปองคุ มครองภาพลักษณที่ถูกตองของศาสนาอิสลาม<br />

และตอสู กับการกระทําที่ทําให<br />

ภาพลักษณอิสลามตองเสื่อมเสีย<br />

ตลอดจนสงเสริมการเสวนาระหวางศาสนาและอารยธรรม<br />

· สงเสริมความรวมมือดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวิจัยระหวางรัฐสมาชิก<br />

· สงเสริมและปกปองสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเสรีภาพขั้นพื้นฐาน<br />

ซึ่งครอบคลุมถึงสิทธิสตรี<br />

เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ<br />

ผูพิการ<br />

ตามหลักการของศาสนาอิสลาม<br />

· สงเสริมบทบาทของครอบครัวในฐานะที่เปนหนวยพื้นฐานของสังคม<br />

· พิทักษสิทธิ เกียรติภูมิ และอัตลักษณของชุมชนมุสลิมและชนกลุมนอยมุสลิมในรัฐ<br />

ที่มิใชสมาชิก<br />

OIC<br />

· รักษาการมีจุดยืนรวมกันในประเด็นที่เปนผลประโยชนรวมกันในเวทีโลก<br />

· รวมมือกันตอตานการกอการรายทุกรูปแบบ รวมทั้งขบวนการอาชญากรรม<br />

การคายาเสพติด<br />

การทุจริต การฟอกเงิน และการคามนุษย<br />

· รวมมือกันในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินดานมนุษยธรรม<br />

อาทิ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ<br />

· สงเสริมความรวมมือดานสังคม วัฒนธรรม และขอมูลขาวสารระหวางรัฐสมาชิก<br />

การจัดองคกร/หนาที่<br />

มาตรา 5-25 ของกฎบัตร OIC ระบุถึงการจัดองคกรตางๆ ของ OIC พรอมทั้งหนาที่<br />

ไวดังนี้<br />

1) การประชุมสุดยอด (Islamic Summit Conference) เปนองคกรสูงสุดในการกําหนด<br />

กรอบนโยบายของ OIC โดยเปนการประชุมระดับผูนํารัฐบาล<br />

กษัตริย และประมุขของรัฐสมาชิกที่จัดขึ้น<br />

ทุก 3 ป แตอาจจัดประชุมวาระพิเศษไดตามคําแนะนําของที่ประชุมระดับ<br />

รมว.กระทรวงการตางประเทศ<br />

รัฐสมาชิกรัฐใดรัฐหนึ่ง<br />

หรือเลขาธิการ และไดรับการสนับสนุนดวยเสียงขางมากของรัฐสมาชิก<br />

2) การประชุมระดับ รมว.กระทรวงการตางประเทศ (Islamic Conference of Foreign<br />

Ministers - ICFM) ซึ่งภายใตกฎบัตรฉบับใหมเปลี่ยนชื่อเปนการประชุมคณะมนตรีรัฐมนตรีตางประเทศ<br />

(Council of the Foreign Ministers - CFM) เปนองคกรที่ทําหนาที่พิจารณาและติดตามการนํานโยบาย<br />

ไปปฏิบัติ รวมทั้งออกขอมติเพื่อแกไขปญหาตางๆ<br />

ที่เปนขอหวงกังวลของรัฐสมาชิก<br />

โดยจัดประชุมทุกป แต<br />

อาจจัดประชุมวาระพิเศษไดหากมีสถานการณที่จําเปนและไดรับการสนับสนุนดวยเสียงขางมากของรัฐสมาชิก<br />

3) คณะกรรมการถาวร (Standing Committees) เปนคณะทํางานที่จัดตั้งขึ้นตาม<br />

ความเห็นชอบของที่ประชุมสุดยอดหรือขอแนะนําของ<br />

CFM เพื่อติดตามประเด็นตางๆ<br />

ที่สําคัญ<br />

ซึ่งปจจุบัน<br />

มี 4 คณะ ไดแก คณะกรรมการอัลกุดส (Al Quds Committee) คณะกรรมการถาวรดานขอมูลขาวสาร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!