21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 505<br />

วันชาติ 18 พ.ย. (วันเสด็จพระราชสมภพของสุลตาน กอบูส เมื่อ<br />

18 พ.ย.2483)<br />

การเมือง โอมานปกครองดวยระบอบราชาธิปไตย (monarchy) สุลตาน กอบูส ทรงเปนทั้งพระประมุขของ<br />

รัฐ ผู นํารัฐบาล รัฐมนตรีกระทรวงสําคัญๆ ผู บัญชาการทหารสูงสุด จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ และ<br />

ผูวาการธนาคารกลาง<br />

อยางไรก็ดี สุลตาน กอบูส มิไดทรงแตงตั้งรัฐทายาทดังเชนที่มีการปฏิบัติกันในราชวงศ<br />

อื่นๆ<br />

ของรัฐรอบอาวอาหรับ สวนหนึ่งอาจเปนเพราะพระองคไมมีทั้งพระราชโอรสและพระราชธิดา<br />

นอกจากนี้<br />

มาตรา 6 ของ Basic Law ยังกําหนดใหสุลตานมาจากการคัดเลือกโดยสภาพระราชวงศ (Ruling Family<br />

Council) ยกเวนในกรณีที่ไมสามารถลงมติอยางเปนเอกฉันทได<br />

ก็ใหบุคคลที่์สุลตานทรงโปรดใหสืบราชสมบัติ<br />

ขึ้นดํารงตําแหนงสุลตานแทน<br />

ทั้งนี้<br />

สุลตาน กอบูส ทรงเปดเผยวาพระองคทรงทําหนังสือแสดงพระราชประสงค<br />

และผนึกตราสงไปใหกระทรวงกลาโหมเก็บรักษาไวแลว<br />

สุลตาน กอบูส ทรงแบงอํานาจอธิปไตยซึ่งเปนของพระองคออกเปน<br />

3 ฝาย ดังนี้<br />

ฝ่ายบริหาร : มีคณะรัฐมนตรี (Council of Ministers หรือ Diwan) ที่มาจากการแตงตั้ง<br />

โดยสุลตาน มีหนาที่ชวยเหลือองคสุลตานในการบริหารบานเมือง<br />

อยางไรก็ดี สุลตาน กอบูส ทรงมีพระราชประสงค<br />

ที่จะเปดโอกาสใหประชาชนแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะแกรัฐบาลได<br />

โดยมีรัฐสภาเปนเวทีปรึกษาหารือ<br />

และทํางานรวมกับรัฐบาลอีกทางหนึ่ง<br />

ฝายนิติบัญญัติ : มีสภาโอมาน (Council of Oman) ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชดําริของสุลตาน<br />

เมื่อ<br />

ต.ค.2540 ทําหนาที่เปนเสมือนรัฐสภา<br />

ประกอบดวยสภาสูง (Majlis Addawla หรือ State Council) มี<br />

สมาชิก 71 คน ซึ่งเปนผู<br />

แทนจากภาครัฐ ภาคเอกชน และกลุ มผลประโยชนตางๆที่ไดรับการแตงตั้งโดยสุลตาน<br />

ขณะที่สภาลาง<br />

(Majlis Ash’Shura หรือ Consultative Council) มีสมาชิก 84 คน มาจากการเลือกตั้ง<br />

แตสุลตานทรงมีอํานาจตัดสินผลการเลือกตั้งในขั้นสุดทาย<br />

วาระดํารงตําแหนง 4 ป การเลือกตั้งครั้งลาสุดมีขึ้นเมื่อ<br />

ต.ค.2554 อยางไรก็ดี ทั้งสองสภาทําหนาที่เพียงกลั่นกรองรางกฎหมาย<br />

ใหขอเสนอแนะดานเศรษฐกิจและ<br />

สังคมแกรัฐบาล แตไมมีอํานาจตัดสินใจ นอกจากนี้<br />

ยังไมมีการจัดตั้งพรรคการเมืองในโอมาน<br />

แตรัฐบาล<br />

อนุญาตใหจัดตั้งสหภาพแรงงานได<br />

โดยปจจุบันมีสหภาพแรงงานทั่วประเทศกวา<br />

70 แหง<br />

ฝายตุลาการ : สุลตานทรงใชอํานาจตุลาการผานศาลฎีกา (Supreme Court) ระบบกฎหมายใช<br />

หลัก Common Law แบบเดียวกับอังกฤษ และบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม (ชารีอะฮ) ทั้งนี้<br />

ผู กระทําผิดสามารถ<br />

ขอพระราชทานอภัยโทษจากสุลตานได และใหถือวาคําตัดสินของสุลตานเปนที่สิ้นสุด<br />

เศรษฐกิจ การผลิตนํ้ามันเพื่อสงออกตั้งแตป<br />

2510 ไดเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจของโอมาน<br />

ไปจากเดิมที่มีภาคการเกษตรและประมงเปนพื้นฐาน<br />

ไปเปนการพึ่งพารายไดจากการสงออกนํ้ามันดิบเปนหลัก<br />

และนํารายไดดังกลาวมาพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว<br />

จนได<br />

ชื่อวาเปนประเทศที่มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภครวดเร็วที่สุดแหงหนึ่งในกลุ<br />

มประเทศกําลังพัฒนาในโลก<br />

อาหรับ ปจจุบันถือเปนประเทศที่มีรายไดปานกลาง<br />

ทั้งนี้<br />

โอมานเปนประเทศเดียวในคณะมนตรีความรวมมือ<br />

แหงรัฐอาวอาหรับ (GCC) ที่ไมไดเปนสมาชิกกลุมประเทศผูสงออกนํ้ามัน<br />

(OPEC) ดวยเหตุนี้<br />

โอมานจึงผลิต<br />

นํ้ามันไดอยางอิสระ<br />

โดยปราศจากการถูกจํากัดดวยเพดานการผลิตเหมือนชาติที่เปนสมาชิก<br />

OPEC<br />

สุลตาน กอบูส ทรงกําหนดแผนพัฒนาประเทศตั้งแตขึ้นครองราชย<br />

ที่เรียกวา<br />

“วิสัยทัศน 2020”<br />

(Vision 2020) ซึ่งเปนการวางเปาหมายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะ<br />

25 ป ระหวางป<br />

2513 - 2563 โดยแบงเปน 2 ชวง ไดแก ชวงระหวางป 2513 - 2538 และชวงระหวางป 2539 - 2563 ซึ่งปจจุบัน<br />

อยู ในชวงที่<br />

2 โดยมีเปาหมายอยู ที่การสรางเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเงิน<br />

ลดบทบาทภาครัฐและเพิ่มบทบาทเอกชน<br />

ใหมีสวนรวมพัฒนาและสรางความหลากหลายทางเศรษฐกิจ พัฒนาทรัพยากรมนุษยและทักษะแรงงาน<br />

ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ<br />

ไดแก<br />

- นํ้ามันดิบ<br />

ซึ่งมีปริมาณสํารองที่พิสูจนทราบแลว<br />

5,500 ลานบารเรล (มากเปนอันดับ 24

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!