21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 67<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตั้งแตป<br />

2543 อุตสาหกรรมการผลิตนํ้ามันและกาซชวยพัฒนาภาควิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยีของอาเซอรไบจานใหทันสมัย รัฐบาลเปดตัวโครงการรณรงคดานวิทยาศาสตร ซึ่งมีจุดมุ<br />

งหมาย<br />

กาวไปสู ความทันสมัยและนวัตกรรมใหม คาดวาในอนาคตอาเซอรไบจานจะมีผลกําไรจากเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

และอุตสาหกรรมการสื่อสารมากขึ้น<br />

และมีรายไดเทียบเทากับรายไดจากการผลิตนํ้ามัน<br />

ดานวิทยาศาสตร<br />

ในศตวรรษที่<br />

21 อาเซอรไบจานมีนักวิทยาศาสตรดาน geodynamics and geotectonics ซึ่งชวยออกแบบ<br />

สถานีทํานายการเกิดแผนดินไหวและออกแบบอาคารที่สามารถทนตอเหตุแผนดินไหวได<br />

สวนเทคโนโลยีดาน<br />

อวกาศ The Azerbaijan National Aerospace Agency วางแผนที่จะปลอยดาวเทียมดวงแรก<br />

AzerSat 1<br />

ขึ้นสูวงโคจรในชวง<br />

ก.ค.หรือ ส.ค.2555 จาก Guiana Space Centre ในเฟรนชเกียนา ที ่ตําแหนงวงโคจร<br />

46 องศา ตอ. ดาวเทียมดวงนี้จะครอบคลุมทวีปยุโรป<br />

เอเชียและแอฟริกา จากนั้นจะสงสัญญาณมาสําหรับ<br />

โทรทัศน วิทยุกระจายเสียง และอินเตอรเน็ต การปลอยดาวเทียมสูวงโคจรครั้งแรกของอาเซอรไบจาน<br />

แสดงใหเห็นวา อาเซอรไบจานมีความกาวหนาดานอุตสาหกรรมอวกาศ<br />

การขนสงและโทรคมนาคม เมื่อป<br />

2545 รัฐบาลอาเซอรไบจานไดกอตั้งกระทรวงคมนาคมขนสง<br />

และใน<br />

ปเดียวกันไดเขาเปนสมาชิกของ Vienna Convention on Road Traffic โดยใหความสําคัญสูงสุดกับการเพิ่ม<br />

เครือขายการขนสงและการบริการดานการขนสง เพื่อเอื้อตอการพัฒนาเศรษฐกิจดานอื่นๆ<br />

ของประเทศ ใน<br />

ป 2555 การกอสรางเสนทางรถไฟ Kars–Tbilisi–Baku มีเปาหมายเชื่อมโยงเสนทางขนสงระหวางทวีปเอเชีย<br />

และยุโรป โดยเปนเสนทางรถไฟเชื่อมตอระหวางเขตตอของจีนและคาซัคสถานกับเสนทางรถไฟโครงการ<br />

Turkey’s Marmaray ของตุรกีไปจนถึงเสนทางรถไฟของยุโรปในเขต ตต. เมื่อป<br />

2553 อาเซอรไบจาน<br />

ไดขยายเสนทางรถไฟออกไปอีก 2,918 กม. และขยายรางรถไฟฟาออกไปอีก 1,278 กม. และมีทาอากาศยาน<br />

ทั้งหมด<br />

35 แหง ลานจอดเฮลิคอปเตอรอีก 1 ลานจอด อาเซอรไบจานยังเปนศูนยรวมของเสนทางขนสง<br />

ของยุโรปและเอเชีย เชน เสนทางสายไหม และเสนทางใตสูเหนือเปนกลยุทธสําคัญในภาคการขนสงที่มีผล<br />

ตอเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากนี้<br />

อาเซอรไบจานยังเปนศูนยกลางขนสงวัตถุดิบตางๆ และการสงนํ้ามัน<br />

ทางทอสงสาย Baku-Tbilisi-Ceyhan (BTC) เริ่มดําเนินการเมื่อ<br />

พ.ค.2549 และขยายตอไปอีกกวา 1,774 กม.<br />

ผานดินแดนของอาเซอรไบจาน จอรเจีย และตุรกี BTC ถูกออกแบบใหขนสงนํ้ามันดิบไดถึง<br />

50 ลานตัน<br />

ตอป และขนสงนํ้ามันจากบอนํ้ามันในทะเลแคสเปยนสูตลาดโลก<br />

The South Caucasus Pipeline ยังได<br />

ตอขยายทอสงนํ้ามันผานดินแดนของอาเซอรไบจาน<br />

จอรเจีย และตุรกี ซึ่งเริ่มดําเนินการเมื่อชวงปลายป<br />

2549 เพื่อเพิ่มการสงกาซไปสนองตอบความตองการของตลาดยุโรปจากแหลงกาซธรรมชาติ<br />

Shah Deniz<br />

ทั้งนี้<br />

อาเซอรไบจานยังเปนประเทศที่มีบทบาทหลักในโครงการเสนทางสายไหมที่สหภาพยุโรป<br />

(EU) ใหการ<br />

สนับสนุน สวนการโทรคมนาคม อาเซอรไบจานมีความกาวหนาในการพัฒนาดานโทรคมนาคม แตก็ยังประสบ<br />

ปญหาดานโครงสรางพื้นฐานของประเทศที่ยังไมดีพอ<br />

เมื่อป<br />

2552 อาเซอรไบจานมีสายโทรศัพทหลักจํานวน<br />

1,397,000 คู สาย และมีผู ใชอินเตอรเน็ตจํานวน 1,485,000 ผู ใชงาน มีผู ใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่<br />

ระบบ GSM จํานวน 5 บริษัท ไดแก Azercell, Bakcell, Azerfon (Nar Mobile), Aztrank, Catel mobile<br />

network operators และผูใหบริการในระบบ<br />

CDMA อีก 1 บริษัท<br />

สถานการณสําคัญที่นาติดตาม<br />

สถานการณในดินแดนนารกอโน - คาราบัค<br />

นากอรโน - คาราบัค (Nagorno-Karabakh) ในอดีตเปนดินแดนปกครองตนเองของสหภาพโซเวียต<br />

ประชากรสวนใหญเปนชาวอารเมเนีย นับถือศาสนาคริสตนิกายออรโธด็อกซ ตอมาในป 2466 สหภาพโซเวียต<br />

ไดมอบดินแดนนี้ใหแกอารเซอรไบจาน<br />

ซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม<br />

และใหชาวอาเซอรีเขาไปตั้งถิ่นฐานในบริเวณ<br />

ดังกลาว โดยใหใชภาษาอารเมเนียเปนภาษาหลัก นับตั้งแตผูนําทองถิ่นของชาวอารเมเนียในนากอรโน<br />

-<br />

คาราบัค ประกาศเอกราชจากอาเซอรไบจาน เมื่อ<br />

ส.ค.2531 จนถึงปจจุบัน การประกาศเอกราชดังกลาวก็ยัง<br />

ไมไดรับการรับรองจากนานาชาติและอาเซอรไบจานถือวานากอรโน - คาราบัค เปนดินแดนกบฏที่ไดรับการ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!