21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 559<br />

ฝายบริหาร : อํานาจบริหารเปนของเจาผูครองรัฐมาโดยตลอด จนกระทั่งรัชสมัยของเชค<br />

เคาะลีฟะฮ บิน ฮะมัด อัลษานี จึงไดมีการริเริ่มตําแหนง<br />

นรม.ขึ้นมาเปนผูนํารัฐบาลตั้งแต<br />

29 พ.ค.2513<br />

โดยเชค เคาะลีฟะฮ ทรงดํารงตําแหนงดังกลาวดวยพระองคเองจนกระทั่งถูกยึดอํานาจเมื่อป<br />

2538 ขณะที่<br />

เชค ฮะมัด เจาผูครองรัฐองคปจจุบันก็ทรงควบตําแหนง<br />

นรม.ดวยอีกตําแหนงในชวงระหวางป 2538-2539<br />

หลังจากนั้นจึงไดมีการแตงตั้งสมาชิกพระราชวงศชั้นสูงใหดํารงตําแหนงดังกลาวแทนพระองค<br />

โดย นรม.<br />

องคปจจุบันคือ เชค ฮะมัด บิน ญะซีม บิน ญาบิร อัลษานี ที่ไดรับการโปรดเกลาฯใหดํารงตําแหนงตั้งแต<br />

3 เม.ย.2550 อยางไรก็ดี อํานาจในการกําหนดนโยบายของรัฐบาลยังคงอยูที่เจาผูครองรัฐ<br />

ขณะที่<br />

นรม.ทรง<br />

ทําหนาที ่เปนผู กํากับการบริหารงานของ รมว.กระทรวงตางๆใหเปนไปตามนโยบายที ่เจาผู ครองรัฐทรงกําหนด<br />

ฝายนิติบัญญัติ/รัฐสภา : มีรัฐสภา (Majlis al Shura) แบบสภาเดียว ซึ่งประกอบดวยสมาชิก<br />

35 คน มาจากการแตงตั้งโดยเจาผูครองรัฐทั้งหมด<br />

อยางไรก็ดี รัฐธรรมนูญฉบับป 2546 กําหนดใหมีรัฐสภา<br />

รูปแบบใหม ซึ่งประกอบดวยสมาชิก 45 คน มาจากการเลือกตั้ง 30 คน อีก 15 คนมาจากการแตงตั้งโดย<br />

เจาผูครองรัฐ โดยเมื่อป 2549 รัฐบาลประกาศวาจะจัดการเลือกตั้ง ส.ส.ตามบทบัญญัติภายใตรัฐธรรมนูญ<br />

ดังกลาวภายในป 2550 แตจนถึงขณะนี้ก็ยังไมมีการจัดการเลือกตั้งดังกลาว<br />

ขณะที่เจาผูครองรัฐทรงประกาศ<br />

เมื่อป<br />

2553 ใหขยายวาระการดํารงตําแหนงของสมาชิกรัฐสภาชุดปจจุบันออกไปจนถึงป 2556 สําหรับ<br />

อํานาจหนาที่ของรัฐสภาตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ<br />

ไดแก การรับรองงบประมาณแผนดิน การตรวจสอบ<br />

การทํางานของ รมต. และการยกราง ถกแถลง และลงมติเพื่อรับรองรางกฎหมาย<br />

ฝายตุลาการ : ใชระบบกฎหมาย civil law ในการพิจารณาคดีอาญา และคดีแพงและพาณิชย<br />

กับบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม ในการพิจารณาคดีครอบครัวและมรดก สวนระบบศาลประกอบดวย<br />

ศาลชั ้นตน ศาลอุทรณ และศาลฎีกา นอกจากนี ้ ยังมีศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญ เจาผู ครองรัฐทรงเปน<br />

ผูแตงตั้งตุลาการศาลตางๆเหลานี้โดยคําแนะนําของสภาตุลาการสูงสุด<br />

วาระการดํารงตําแหนง 3 ป<br />

พรรคการเมืองสําคัญ : ไมมีระบบพรรคการเมือง อีกทั้งไมปรากฏวามีกลุมการเมืองใดๆ<br />

ใน<br />

กาตาร เนื่องจากขอหามตามกฎหมาย<br />

เศรษฐกิจ มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชีพสูงเทียบเทาประเทศในยุโรป<br />

ตต.<br />

เฉพาะอยางยิ ่งรายไดเฉลี่ยตอหัวตอปที่สูงเปนอันดับ<br />

1 ของโลก การคนพบแหลงนํ้ามันและกาซธรรมชาติใน<br />

ประเทศเมื่อป<br />

2480 ไดเปลี่ยนโครงสรางเศรษฐกิจอยางสิ้นเชิง<br />

จากที่เคยพึ่งพาการประมงและการหาไขมุก<br />

ไปสูการพึ่งพารายไดจากการสงออกนํ้ามันและกาซธรรมชาติเปนหลัก<br />

โดยปจจุบันมีสัดสวนสูงกวา 50%<br />

ของ GDP อีกทั้งคิดเปน<br />

85% ของรายไดจากการสงออก และ 70% ของรายไดภาครัฐ อุตสาหกรรมหลัก :<br />

การผลิตกาซธรรมชาติเหลว (LNG) การผลิตและการกลั่นนํ้ามันดิบ<br />

การผลิตแอมโมเนีย ปุย ปโตรเคมี<br />

เหล็กกลา ปูนซีเมนต และการซอมเรือพาณิชย<br />

ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ<br />

: นํ้ามันดิบ<br />

ซึ่งมีปริมาณสํารองที่พิสูจนทราบแลว<br />

25,380 ลาน<br />

บารเรล (มากเปนอันดับ 13 ของโลก) กําลังการผลิตวันละ 1.631 ลานบารเรล (อันดับ 19 ของโลก) และ<br />

สงออกไดวันละ 704,300 บารเรล (อันดับ 18 ของโลก) กาซธรรมชาติ ซึ่งมีปริมาณสํารองที่พิสูจนทราบแลว<br />

25.2 ลานลาน ลบ.ม. (มากเปนอันดับ 4 ของโลก) กําลังการผลิตวันละ 116,700 ลาน ลบ.ม. (อันดับ 7 ของโลก)<br />

และสงออกไดวันละ 94,900 ลาน ลบ.ม. (อันดับ 4 ของโลก)<br />

นโยบายเศรษฐกิจ : รัฐบาลพยายามกระจายตลาดสงออกกาซธรรมชาติมากขึ ้น เฉพาะอยางยิ ่ง<br />

ในยุโรป ซึ ่งไมเพียงแตจะเปนการกระจายความเสี ่ยง แตจะทําใหมีประเทศที ่พึ ่งพากาซธรรมชาติจากกาตาร<br />

มากขึ้น<br />

ซึ่งจะสงผลดีสําหรับกาตารในการตอรองกับประเทศตางๆ<br />

ในเวทีระหวางประเทศ ขณะเดียวกัน<br />

ก็พยายามหันมาพัฒนาเศรษฐกิจดานอื่นมากขึ้นเชนกัน<br />

เฉพาะอยางยิ่ง<br />

Knowledge-based Economy<br />

ที่เนนพัฒนาธุรกิจดานเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

(IT) และการเปนศูนยกลางการศึกษานานาชาติ โดยปจจุบัน<br />

มีมหาวิทยาลัยชั ้นนําของสหรัฐฯ ฝรั่งเศส<br />

และอังกฤษเขาไปเปดวิทยาเขตในโดฮา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!