21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 817<br />

กรอบความรวมมืออนุภูมิภาคลุมนํ้าโขงหรือกรอบความรวมมือหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ<br />

(Greater Mekong Subregion-GMS)<br />

เว็บไซต www.adborg/gms<br />

กอตั้งเมื่อ<br />

พ.ศ.2535<br />

สมาชิก 6 ประเทศ ประกอบดวย จีน (ยูนนาน) เมียนมา ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม<br />

พื้นที่/ประชากร<br />

ประมาณ 2,300,000 ตร.กม. ประชากรรวมกันประมาณ 250 ลานคน<br />

วัตถุประสงค เพื่อสงเสริมความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศสมาชิก<br />

ภารกิจ สนับสนุนการพัฒนาโครงสรางพื ้นฐาน เพื ่อใหเกิดการพัฒนาและการแบงปนฐานทรัพยากร<br />

ซึ่งกันและกัน<br />

และสงเสริมการไหลของสินคาและประชาชนในอนุภูมิภาคใหเสรีมากขึ้น<br />

เพื่อนําไปสูการ<br />

ยอมรับระหวางประเทศในฐานะพื้นที่ที่มีความสําคัญและเติบโต<br />

กลไกการดําเนินการ แบงเปน 4 ระดับ ไดแก<br />

1. การประชุมระดับคณะทํางานของแตละสาขาความรวมมือ เพื่อประสานงาน<br />

ความคืบหนาของกิจกรรมตางๆ<br />

2. การประชุมระดับ จนท.อาวุโส ปละ 1-2 ครั้ง<br />

3. การประชุมระดับ รมต. ปละ 1 ครั้ง<br />

4. การประชุมระดับผูนํา<br />

ทุก 3 ป โดยกัมพูชาเปนเจาภาพจัดการประชุมระดับผูนํา<br />

GMS ครั้งที่<br />

1 เมื่อป<br />

2545 จีนเปนเจาภาพครั้งที่<br />

2 เมื่อป<br />

2548 ลาวเปนเจาภาพครั้งที่<br />

3 เมื่อป<br />

2551 พมา<br />

เปนเจาภาพครั้งที่<br />

4 เมื่อป<br />

2554 สําหรับการประชุมระดับผูนําครั้งที่<br />

5 ไทยจะเปนเจาภาพจัดการประชุม<br />

ในป 2557<br />

สาขาความรวมมือ ประกอบดวย 9 สาขา ไดแก คมนาคมขนสง โทรคมนาคม พลังงาน การคาการลงทุน<br />

เกษตร สิ่งแวดลอม<br />

การทองเที่ยว<br />

และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย<br />

ความสัมพันธกับไทยและสถานการณที่นาติดตาม<br />

ไทยมีบทบาทสําคัญใน GMS เนื ่องจากมีพัฒนาการทางเศรษฐกิจที ่เขมแข็งกวาประเทศ<br />

อื่นๆ<br />

ในอนุภูมิภาค อีกทั้งยังเปนศูนยกลางทางการสื่อสารและคมนาคม<br />

เปนตลาดขนาดใหญ และเปนฐาน<br />

การผลิต และสงออกสินคาที ่สําคัญ นอกจากนี ้ ไทยยังไดใหความรวมมือและความชวยเหลือในหลายดานแก<br />

ประเทศในอนุภูมิภาค<br />

GMS ไดกลายเปนจุดสนใจและเปาหมายของการแขงขันชวงชิงอิทธิพลระหวางจีน<br />

กับสหรัฐฯ ซึ่งมีแนวโนมเขมขนขึ้น<br />

เนื่องจาก<br />

GMS กลายเปนกลไกหลักในการพัฒนาลุมนํ้าโขง<br />

โดยกรอบ<br />

ยุทธศาสตรการพัฒนาแผนงาน GMS ฉบับใหม ระยะ 10 ป (ป 2555-2565) ที่เนนความรวมมือในการดําเนินงาน<br />

ดานตางๆ อยางตอเนื่อง<br />

ไดแก การพัฒนาเสนทางคมนาคมขนสง การเชื่อมโยงโครงสรางพื้นฐาน<br />

พลังงาน<br />

โทรคมนาคม การทองเที่ยว<br />

การเกษตร การคาและการลงทุน จะทําให GMS กลายเปนกลุมความรวมมือ<br />

ทางเศรษฐกิจที่มีแนวโนมขยายตัวอยางรวดเร็วที่สุดในโลก<br />

โดยผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)<br />

จะเพิ่มขึ้น<br />

8% ตอป นอกจากนี้ศักยภาพทางเศรษฐกิจของ<br />

GMS ยังเปนประโยชนตออาเซียนในการขับเคลื่อน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!