21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ภาษา ภาษาอังกฤษ และภาษา Swati เปนภาษาราชการ<br />

การศึกษา อัตราการรูหนังสือ<br />

81.6%<br />

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 643<br />

การกอตั้งประเทศ<br />

ชนชาติสวาซิเปนชนเผา Nguni เดิมอาศัยอยู ทางแอฟริกากลาง ประมาณป 2293 ชนชาติ<br />

สวาซิหรือเผา Nguni ไดเคลื่อนยายลงมาทางแอฟริกา<br />

ตอ.ต. ซึ่งเปนที่ตั้งของราชอาณาจักรสวาซิแลนดใน<br />

ปจจุบันภายใตการปกครองของกษัตริย Ngwane III ซึ่งถือวาเปนกษัตริยกษัตริยองคแรกของราชอาณาจักร<br />

กษัตริยองคปจจุบัน คือกษัตริย Mswati III (ขึ้นครองราชสมบัติเมื่อ<br />

เม.ย.2529)<br />

เมื่อชาวสวาซิอพยพลงมาอาศัยในพื้นที่ปจจุบัน<br />

ชวงแรกมีปญหาขัดแยงแยงดินแดนกับ<br />

ชนเผาซูลู ซึ่งมีความเขมแข็งกวาชนเผาสวาซิ<br />

ตอมาเมื่อมีการขุดพบทองคําในภูมิภาคนี้เมื่อป<br />

2422 คน<br />

ผิวขาวจากยุโรปจึงอพยพเขาไปแสวงโชคกันมากและยึดดินแดนนี้เปนเมืองขึ้น<br />

เปนสาเหตุทําใหสวาซิแลนด<br />

ตกเปนเมืองขึ้นของคนเชื้อสายดัช<br />

ซึ่งไดครองดินแดนซึ่งเปนที่ตั้งสาธารณรัฐแอฟริกาใตในปจจุบัน<br />

โดยเรียก<br />

สวาซิแลนดวา Boer Republic of Transvaal ตอมาคนเชื้อสายอังกฤษไดอพยพเขามาอาศัยและทําสงคราม<br />

ชนะคนเชื้อสายดัช<br />

(Boer) เมื่อป<br />

2446 สวาซิแลนดจึงกลายเปนเมืองขึ้นของอังกฤษ<br />

สวาซิแลนดไดรับเอกราชเมื่อ<br />

6 ก.ย.2551 ภายใตการปกครองของ King Sobhuza II โดยมี<br />

การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยที่กษัตริยทรงอยูภายใตรัฐธรรมนูญ<br />

ตอมา King Sobhuza II แกไข<br />

รัฐธรรมนูญเพื่อใหพระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ<br />

พรอมทั้งยกเลิก<br />

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรค<br />

ทรงตราพระราชบัญญัติหามการจัดตั้ง<br />

พรรคการเมืองหรือกลุมผลประโยชนทางการเมือง ปจจุบันสวาซิแลนดยังคงปกครองตามแนวทางการ<br />

ปกครองที่<br />

King Sobhuza II ไดทรงวางรากฐานไว และแอฟริกาใตซึ่งมีอิทธิพลเหนือสวาซิแลนดพยายาม<br />

กดดันใหสวาซิแลนดเปลี่ยนเปลงการปกครองเพื่อให<br />

เปนประชาธิปไตยมากขึ้น<br />

วันชาติ 6 ก.ย.<br />

การเมือง ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราช (Monarchy) กษัตริย Mswati III ทรงเปนประมุขรัฐ<br />

มีพระราชอํานาจสิทธิขาดเหนือรัฐบาล ทรงมีอํานาจในการแตงตั้งและถอดถอน<br />

นรม. ซึ่งเปนหัวหนา<br />

ฝายบริหาร ทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการแตงตั้ง<br />

ครม. โดยสวนหนึ่งทรงแตงตั้งตามพระราชอัธยาศัยและ<br />

สวนหนึ่งทรงแตงตั้งจากบุคคลซึ่งเปนผู<br />

แทนที่ไดรับการเลือกตั้งจากประชาชน<br />

ปจจุบัน นาย Barnabas Sibusiso<br />

DLAMINI ดํารงตําแหนง นรม. (16 ต.ค.2551)<br />

ฝายนิติบัญญัติ/รัฐสภา : ประกอบดวยวุฒิสภา (Upper House) มีจํานวน 30 คน และ<br />

สภาผูแทนราษฎร(Lower<br />

House) จํานวน 65 คน สมาชิกวุฒิสภามาจากการแตงตั้งของพระมหากษัตริย<br />

จํานวน 20 คน อีก 10 คนจากการคัดเลือกบุคคลทั่วไปของสภาผูแทนราษฎร<br />

สวนสภาผูแทนราษฎรซึ่งมี<br />

วาระ 5 ป มาจากการแตงตั้งของพระมหากษัตริยจํานวน<br />

10 คน อีก 55 คน มาจากการเลือกตั้ง<br />

55 เขต<br />

โดยใหประชาชนที่มีอายุตั้งแต<br />

18 ปขึ้นไปมีสิทธิเลือกตั้ง<br />

การเลือกตั้งครั้งลาสุดมีขึ้นเมื่อ<br />

ต.ค.2549<br />

ฝายตุลาการ : สวาซิแลนดใชระบบตุลาการ 2 แนวทางควบคูกันไป<br />

คือ การพิจารณาคดีตาม<br />

ประเพณีดั้งเดิม<br />

หรือเรียกวา Traditional Swazi National Court และการพิจารณาตามระบบศาลสถิตยุติธรรม<br />

ตามแบบ ตต. โดยยึดแนวทางกฎหมายแนว Roman Dutch ซึ่งการพิจารณาตามแนวทางสมัยใหมนี้แบงศาล<br />

ยุติธรรมเปน High Court, Magistrates Courts และ Industrial Courts นอกจากนั้น<br />

ยังมี Constitutional<br />

Courts ซึ่งทําหนาที่เปนศาลสูงสุดของประเทศและจะมีหนาที่พิพากษาตัดสินคดีที่ศาลอื่นๆ<br />

มีความเห็น<br />

ขัดแยงกัน และการตัดสินคดีของ Constitutional Courts ถือวาคดีสิ้นสุด

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!