21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 99<br />

จิกมี ซิงเย วังจุก (พระราชบิดา) ทรงเปลี่ยนแปลงการบริหารประเทศตั้งแตป<br />

2541 โดยใหมีหัวหนา<br />

รัฐบาลและสภาคณะมนตรีเขาบริหารประเทศ ซึ่งถือเปนจุดเปลี่ยนสําคัญทางการเมืองของภูฏาน<br />

และเมื่อ<br />

17 ธ.ค.2548 สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังจุก ทรงประกาศเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชยไปสูระบอบประชาธิปไตย ที่มีสมเด็จพระราชาธิบดีเปนประมุข<br />

และเมื่อป<br />

2551<br />

ทรงประกาศสละราชบัลลังกใหแกมกุฎราชกุมาร จิกมี เคซาร นัมเกล วังจุก โดยมีคณะองคมนตรีเปนที่ปรึกษา<br />

และสภาแหงชาติที่เรียกวา<br />

ซงดู (Tsongdu) ทําหนาที่ในการออกกฎหมาย<br />

ประกอบดวยสมาชิก 161 คน<br />

โดยสมาชิก 106 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน<br />

และสมาชิกที่เหลือ<br />

55 คน มาจากการแตงตั้ง<br />

ของสมเด็จพระราชาธิบดี<br />

ฝายบริหาร : นับตั้งแตป<br />

2541 ตําแหนงหัวหนารัฐบาลหรือ นรม. (Head of Government)<br />

คือ ประธานสภาคณะมนตรี (Chairman of the Council of Ministers) ซึ่งคัดเลือกจากสมาชิกสภาคณะมนตรี<br />

(เทียบเทา ครม.) ซึ่งมีจํานวน<br />

10 คน และอยูในตําแหนงวาระ 5 ป โดยผูที่ไดรับคะแนนเสียงมากที่สุด<br />

ลําดับ 1-5 หมุนเวียนกันดํารงตําแหนง นรม./ประธานสภาคณะมนตรีคราวละ 1 ป ประธานสภาคณะมนตรี<br />

และหัวหนารัฐบาล (Chairman of the Council of Ministers and Head of Government) หรือ นรม.<br />

คนปจจุบัน คือ นายจิกมี ทินเลย (Jigme THINLEY) เริ่มดํารงตําแหนงเมื่อ<br />

9 เม.ย.2551<br />

ฝายนิติบัญญัติ/รัฐสภา : ใชระบบ 2 สภา ประกอบดวย 1) สภาแหงชาติ (National Council)<br />

ซึ่งสมาชิกไมสังกัดพรรคใด (non-partisan National Council) จํานวน 25 ที่นั่ง<br />

โดย 20 ที่นั่งมาจากการ<br />

เลือกตั้งใน<br />

20 เขตเลือกตั้ง<br />

(Dzongkhags) วาระการดํารงตําแหนง 4 ป และสมเด็จพระราชาธิบดีเสนอชื่อ<br />

สมาชิกอีก 5 คน และ 2) รัฐสภา (National Assembly) มีสมาชิกจํานวน 47 คน มาจากการเลือกตั้ง<br />

วาระ<br />

การดํารงตําแหนง 5 ป<br />

ฝายตุลาการ : ศาลสูงสุด คือ ศาลฎีกา (Supreme Court of Appeal) พระราชาธิบดีทรง<br />

แตงตั้งผูพิพากษา<br />

พรรคการเมืองสําคัญ : Bhutan Peace and Prosperity Party (Druk Phuensum Tshongpa)<br />

หรือ DPT นําโดยนายจิกมี ทินเลย และ People’s Democratic Party หรือ PDP นําโดยนายเชริง ท็อปเกย<br />

เศรษฐกิจ ภูฏานเปนประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดเล็กและมีการพัฒนานอยที่สุดของโลก<br />

รายไดหลัก<br />

ของประเทศมาจากภาคการเกษตรกรรมและปาไม ประชากรกวา 60% ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและ<br />

ปศุสัตว ทั้งนี้<br />

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังจุก ไดทรงดําเนินนโยบายเปดประเทศหรือนโยบายมองออก<br />

ไปขางนอก (Outward-looking policy) โดยภูฏานไดเริ่มดําเนินการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ<br />

สงเสริมการลงทุน<br />

จากตางประเทศเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจแบบยั่งยืน<br />

ปจจุบันรัฐบาลภูฏานอยู ระหวางการราง พ.ร.บ.วาดวย<br />

การลงทุนเพื่อใหมีความชัดเจนแกนักธุรกิจตางประเทศในการเขามาลงทุนในภูฏานมากขึ้น<br />

อยางไรก็ดี ภูฏาน<br />

ตองการที่จะพัฒนาประเทศอยางคอยเปนคอยไป<br />

โดยไมทําลายสภาพแวดลอม ประเพณี และวัฒนธรรม<br />

ของประเทศ ในทางปฏิบัติ จึงไมตองการการลงทุนจากตางประเทศมากจนเกินไป ในปจจุบัน สมเด็จ<br />

พระราชาธิบดีจิกมี เคซาร นัมเกล วังจุก ทรงสานตอนโยบายตามพระราชบิดา โดยเนนการเพิ่มปริมาณ<br />

ดานการลงทุนจากตางประเทศและการทองเที่ยวเทาที่จําเปน<br />

ความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจของภูฏาน สวนหนึ่งมาจากการมีธรรมรัฐ<br />

(Good governance)<br />

และการที่ขาราชการไดรับคาตอบแทนสูง<br />

ภูฏานเปนหนึ่งในประเทศที่มีการเก็บภาษีนอยที่สุด<br />

รายไดจากการ<br />

เรียกเก็บภาษีคิดเปนเพียง 0.3% ของรายไดรัฐบาล และมีภาษีจากภาคธุรกิจเพียง 3% เทานั้น<br />

สวนรายได<br />

ที่เหลือเปนรายไดจากการขายกระแสไฟฟาพลังงานนํ้าใหแกอินเดีย<br />

เงินปนผล คาภาคหลวง (คาธรรมเนียมและ<br />

ผลประโยชนตอบแทนแกรัฐ) ภาษีสรรพสามิต และรายไดจากสาธารณูปโภค<br />

แมภูฏานเปนประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่คอนขางมั่นคงและมีดุลการชําระเงินดี<br />

แตภูฏาน<br />

ตองพึ่งพาความชวยเหลือจากตางประเทศเปนจํานวนมากถึง<br />

33% ของ GDP ปจจุบัน ภูฏานอยู ระหวางการ<br />

เปดเสรีทางเศรษฐกิจ โดยธนาคารโลก กองทุนการเงินระหวางประเทศ ประเทศ ตต. และญี่ปุน<br />

ใหความ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!