21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 857<br />

สมาคมความรวมมือแหงภูมิภาคเอเชียใต<br />

(South Asian Association for Regional Cooperation – SAARC)<br />

สมาชิก บังกลาเทศ ภูฏาน อินเดีย มัลดีฟส เนปาล ปากีสถาน<br />

ศรีลังกา และอัฟกานิสถาน ซึ่งเขาเปนสมาชิกลาสุดเมื่อป<br />

2550 ประเทศ<br />

ผู สังเกตการณ ไดแก ออสเตรเลีย จีน อิหราน ญี่ปุ<br />

น มอริเชียส เมียนมา<br />

เกาหลีใต สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป<br />

ภารกิจ จัดตั้งขึ้นเมื่อ<br />

8 ธ.ค.2528 เพื่อสงเสริมความรวมมือ<br />

ดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม พลังงาน สิ่งแวดลอม<br />

การ<br />

พัฒนาทรัพยากรมนุษย การสื่อสาร<br />

สื่อมวลชน<br />

การติดตอระหวาง<br />

ประชาชน การบรรเทาความยากจน ความมั่นคง<br />

วิทยาศาสตรและ<br />

เทคโนโลยี และการทองเที่ยวในภูมิภาคเอเชียใต<br />

ในอนาคตจีนอาจไดรับการยกสถานะขึ้นเปนสมาชิก<br />

เนื่องจากไดรับการสนับสนุนจากปากีสถาน<br />

บังกลาเทศ และเนปาล แมอินเดียยังคัดคาน ขณะเดียวกัน อินเดีย<br />

สนับสนุนใหรัสเซียเขาเปนผูสังเกตการณเพื่อถวงดุลกับจีน<br />

รวมทั้งสนับสนุนพมาขึ้นเปนสมาชิก<br />

นอกจากนี้<br />

อินโดนีเซียสนใจจะเขาเปนผูสังเกตการณ<br />

โดยไดรับการสนับสนุนจากศรีลังกา<br />

ที่ผานมามีการจัดประชุมสุดยอด<br />

SAARC มาแลว 17 ครั้ง<br />

โดยครั้งที่<br />

16 ที่ภูฏานระหวาง<br />

28-29 เม.ย.2553 ภายใตหัวขอหลัก “Towards a Green and Happy South Asia” ที่ประชุมไดรับรอง<br />

ปฏิญญาผู นํา และแถลงการณทิมพูวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

หัวขอหารือที่สําคัญไดแก<br />

ดาน<br />

เศรษฐกิจ ผู นําประเทศสมาชิกไดยืนยันดําเนินการตามพันธะกรณีของขอตกลงเขตการคาเสรีเอเชียใต (South<br />

Asia Free Trade Agreement – SAFTA) ที่ไดลงนามไปแลวใหเกิดผลเปนรูปธรรม<br />

ดานความมั่นคง<br />

ใหความสําคัญกับปญหาการกอการรายในภูมิภาคเอเชียใต สําหรับปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

ที่ประชุมไดยํ้าถึงความจําเปนของการแกปญหาดวยหลักความเทาเทียมและความรับผิดชอบรวมกัน<br />

ซึ่งระบุไว<br />

ในกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

(UN Framework Convention<br />

on Climate Change – UNFCCC) รวมถึงจะจัดตั้งกลุมผูเชี่ยวชาญดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

ซึ่งจะมีการประชุมกันอยางนอยปละ<br />

2 ครั้ง<br />

เพื่อพัฒนาและผลักดันนโยบายที่เกี่ยวของใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอไป<br />

สวนการประชุมสุดยอด SAARC ครั้งที่<br />

17 ที่มัลดีฟส<br />

เมื่อ<br />

พ.ย.2554 มีการลงนามในขอตกลง<br />

4 ฉบับ ครอบคลุมเรื่องการจัดการภัยธรรมชาติ<br />

การจัดตั้งธนาคารพันธุ<br />

พืช และระเบียบขอบังคับที่จะใชเปน<br />

มาตรฐานเดียวกันตามกรอบขอตกลงเขตการคาเสรีเอเชียใต สําหรับการประชุมสุดยอด SAARC ครั้งที่<br />

18<br />

ที่เนปาลจะเปนเจาภาพใน<br />

เม.ย.2556 อาจตองเลื่อนไปเปนปลายป<br />

2556 เนื่องจากปญหาสถานการณ<br />

ทางการเมืองในเนปาลที่ยังคงไมมีเสถียรภาพ<br />

SAARC มีการประชุมสุดยอดประจําป และการประชุม รมว.กต. ปละ 2 ครั้ง<br />

หมุนเวียนเปน<br />

เจาภาพตามลําดับตัวอักษร<br />

เลขาธิการ มาจากการแตงตั้งของสภารัฐมนตรีจากประเทศสมาชิก<br />

หมุนเวียนตามการเรียงลําดับตัวอักษร<br />

มีวาระ 3 ป เลขาธิการคนปจจุบันคือนาง Fathimath Dhiyana Saeed (1 มี.ค.2554) จากมัลดีฟส<br />

สํานักเลขาธิการ กรุงกาฐมาณฑุ เนปาล<br />

----------------------------------

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!