03.07.2020 Views

ASA JOURNAL 06/59

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เมื่อพิจารณาสภาวะน่าสบาย การประเมินสมรรถนะ<br />

ด้านสภาพแวดล้อมของงานออกแบบควรครอบคลุม 4 ส่วน<br />

ได้แก่ สภาวะน่าสบายทางอุณหภาพ (Thermal comfort)<br />

สภาวะน่าสบายทางการมองเห็น (Visual comfort) สภาวะ<br />

น่าสบายทางการได้ยิน (Audio comfort) และคุณภาพ<br />

อากาศในอาคาร (Indoor air quality) นอกจากนี้การ<br />

ประหยัดพลังงานซึ่งมีผลต่อปริมาณการปลดปล่อยคาร์บอน<br />

ยังเป็นอีกสิ่งที ่สาคัญยิ่ง โดยทั่วไปจึงต้องมีการประเมิน<br />

สมรรถนะอาคารด้านการใช้พลังงานอีกด้วย โปรแกรม<br />

การจาลองทั้งที่มีในท้องตลาดและเขียนขึ้นเองโดยคณะ<br />

ทางานต่างๆ มักเป็นไปเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์เฉพาะ<br />

ในการวิเคราะห์และประเมินสมรรถนะแต่ละด้าน จึงเป็น<br />

ที่มาของการจาลองสภาวะทางความร้อน (Dynamic thermal<br />

simulation) การจาลองแสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์<br />

ในอาคาร การจาลองการใช้พลังงานของอาคาร (Energy<br />

simulation) และการจาลองทางอุณหพลศาสตร์ของไหล<br />

(Computational Fluid Dynamics, CFD) ที่ใช้ดูสภาพ<br />

การระบายอากาศทั้งภายในและภายนอกอาคาร ผู้ออกแบบ<br />

สามารถดูผลอุณหภูมิ ความดัน และความเร็วของลมใน<br />

พื้นที่ศึกษาได้ตามต้องการ และแม้แต่สภาพแวดล้อม<br />

ภายนอกอาคาร ในปัจจุบันก็ยังมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์<br />

ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อประเมินสภาวะทางความร้อน<br />

จากการใช้พืชพันธุ์ต่างๆ ซึ่งมีผลต่อการลดความรุนแรง<br />

ของปรากฏการณ์เกาะความร้อนในเมือง<br />

การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจาลองแบบและ<br />

คานวณเพื่อประเมินสมรรถนะด้านสภาพแวดล้อมของ<br />

งานออกแบบได้รับความนิยมและมีการใช้งานอย่างแพร่-<br />

หลายโดยเฉพาะในต่างประเทศ ส่วนในประเทศไทยผู้-<br />

ออกแบบอาคารอาจพบข้อจากัดในเรื่องราคาลิขสิทธ์ของ<br />

โปรแกรมที่จะใช้ รวมถึงการหาผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้<br />

ความสามารถในการดาเนินการวิเคราะห์โครงการใน<br />

ลักษณะดังกล่าว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการพัฒนา<br />

โครงการตามแนวทางอาคารเขียวหรือโครงการที ่ตอบ-<br />

สนองและเป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อมได้กลายเป็นวิถีของ<br />

ปัจจุบันและอนาคต การใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมต่างๆ<br />

เพื่อการจาลองสมรรถนะอาคารจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้<br />

และมีแนวโน้มที่จะเป็นตลาดแห่งการแข่งขันและเพิ่ม<br />

ความสาคัญยิ่งขึ้นในอนาคต<br />

โลกสถาปัตยกรรมในวันข้างหน้าจะไม่ใช่โลกของ<br />

การออกแบบเพียงแค่จากสัญชาตญาณอีกต่อไป แต่เป็น<br />

โลกของการใช้ข้อมูล การใช้องค์ความรู้จากการวิจัย เพื่อ<br />

พิสูจน์ผลของงานออกแบบว่า สิ่งแวดล้อมที่สรรค์สร้างขึ้น<br />

นั้นมีคุณค่าต่อชีวิตและเป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อมเพียงไร<br />

อ้างอิง<br />

B. W. Edwards., E., Naboni. (2013). Green Buildings Pay:<br />

Design, Productivity and Ecology (Third ed.). Abingdon:<br />

Routledge.<br />

Daniels, K. (1995). Technology of Ecological Buildings.<br />

Olgyay, V. (1961). Design With Climate: Bioclimatic Approach<br />

to Architectural Regionalism. New Jersey: Princeton<br />

University Press.<br />

World Business Council for Sustainable Development. (2009).<br />

Energy Efficiency in Buildings – Transforming the Market<br />

France: Advence SA.<br />

ภัทรนันท์ ทักขนนท์. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 01247532<br />

Simulation for Envrionmental Performance Assessment<br />

of Design. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.<br />

ภัทรนันท์ ทักขนนท์. (25<strong>59</strong>). สถาปัตยกรรมไม่แก่แดดแต่แก่ลม.<br />

กรุงเทพฯ.<br />

อรรจน์ เศรษฐบุตร. (2551). สถาปัตยกรรมสีเขียว:การท้าทายเพื่อ<br />

ความยั่งยืน. วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยามใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์, 3, 70-76<br />

04 ผลการเปรียบเทียบค่าไฟฟ้า<br />

จากการใช้วัสดุผนังแตกต่างกัน<br />

05 ผลการจำาลองสภาพการระบาย<br />

อากาศภายในบ้านพักอาศัยด้วย<br />

CFD<br />

ผศ.ดร.ภัทรนันท์ ทักขนนท์<br />

(TREES-A)<br />

อาจารย์ประจำาภาควิชานวัตกรรม<br />

อาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 107

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!