03.07.2020 Views

ASA JOURNAL 06/59

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ความท้าทายสาคัญของโครงการ คือการออกแบบ<br />

โครงสร้างทางสถาปัตยกรรม ซึ่งสถาปนิกเลือกยกอาคาร<br />

ให้ลอยอยู่เหนือระดับพื้น ซึ่งเมื่อมองเข้ามาภายในอาคาร<br />

จากเชิงเขา จะเห็นเพียงเสาเพียงต้นเดียวเท่านั้นที่ทา<br />

หน้าที่ค้าอาคารแต่ละหลังไว้ ในขณะที่การเลือกใช้วัสดุ<br />

นั้น การคงไว้ซึ่งสัจจะของวัสดุโดยไม่มีการทาสี นอกจาก<br />

จะช่วยสื่อถึงความเรียบง่ายแบบตะวันออกเหมือนอย่าง<br />

ที่ปรากฏให้เห็นในวัฒนธรรมการดื่มชาแล้ว เนื้อแท้ของ<br />

วัสดุเหล่านั้น ทั้งผนังปูนเปลือย ไม้สนสีธรรมชาติ หรือ<br />

แม้แต่บานกระจกและเหล็ก ยังช่วยผสานสถาปัตยกรรม<br />

ให้เข้ากับธรรมชาติได้อย่างน่าสนใจเลยทีเดียว ทว่าภาย-<br />

ใต้การก่อสร้างของอาคารหลังนี้ ปัญหาที่ทางสถาปนิก<br />

ต้องเผชิญนั้นกลับเป็นเรื่องของการสื่อสารที่ไม่เข้าใจกัน<br />

กับผู้รับเหมาในพื ้นที่ อาจด้วยเพราะความไม่คุ้นเคยใน<br />

รูปแบบการก่อสร้าง แต่สถาปนิกก็สามารถแก้ปัญหาใน<br />

ส่วนนี้ได้ด้วยการทาแบบภาพ 3 มิติ ขึ้นมาในแต่ละส่วน<br />

ร่วมกับการใช้เวลาเข้าไปพูดคุยในระหว่างการก่อสร้างที่<br />

ค่อนข้างมาก ทาให้ในท้ายที่สุด ความพิเศษที่เกิดขึ้น<br />

นอกเหนือไปจากรูปแบบสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจแล้ว<br />

การทางานร่วมกันอย่างเข้มแข็งระหว่างเจ้าของโครงการ<br />

สถาปนิก และผู้รับเหมา ยังนามาซึ่งมิตรภาพภายหลังที่<br />

อาคารเสร็จสิ้นอีกด้วย<br />

แม้ข้อเสียที่เกิดขึ้นกับอาคารจะมีอยู่บ้าง อย่างเช่น<br />

ความร้อนที่เกิดอยู่ตลอดเวลาจากแสงที่ตกลงบนกระจก<br />

บานใหญ่ของอาคารบริเวณพื้นที่ Tea Gallery หรือความ<br />

ชื้นที่อาจเกิดจากการระบายน้าได้ไม่รวดเร็วเพียงพอบริเวณ<br />

หลังคาของอาคาร ทว่าสิ่งที่ปรากฏชัดให้เห็นใน Choui Fong<br />

Tea Café แห่งนี้ คือความใส่ใจในสภาพแวดล้อมของ<br />

สถาปนิก ที่สามารถดึงเอาศักยภาพของที่ตั้งมาใช้ให้เกิด<br />

ประโยชน์กับสถาปัตยกรรมได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ<br />

โดยที่ในเวลาเดียวกันก็ไม่สร้างความเดือดร้อนให้กับ<br />

ธรรมชาติด้วยเช่นกัน ซึ่งนั่นเป็นเพราะสถาปนิกจาก<br />

IDIN Architects มองว่าสภาพแวดล้อมกับสถาปัตยกรรม<br />

ก็เหมือนกับ “น้าที่ปลาต้องไปว่ายอยู่” ซึ่งจีรเวชยังได้<br />

ทิ้งท้ายเกี่ยวกับนิยามตรงนี้ไว้อีกว่า “เราต้องเข้าใจที่ที่<br />

สถาปัตยกรรมไปใช้ชีวิต ไปตั้งอยู่ ทั้งในเชิงกายภาพและ<br />

เนื้อหาสาระที่อยู่โดยรอบ สถาปัตยกรรมที่ดีควรอยู่และ<br />

ช่วยส่งเสริมสภาพแวดล้อมอย่างเหมาะสม โดยไม่ใช่ว่า<br />

จะต้องเข้ากันไปหมดกับสภาพแวดล้อมก็ได้ มันอยู่ที่ว่า<br />

เหมาะสมหรือไม่มากกว่า เพราะนั่นคือสิ่งที่สถาปัตยกรรม<br />

ควรเป็นกับที่ที่มันอยู่”<br />

One of the biggest challenges of the project is the<br />

design of the architectural structure, which is elevated<br />

to be above the ground level. Looking into the building<br />

from the foot of the hill, one can see each building mass<br />

being support by one, single column. The materials are<br />

used with their true quality left exposed and celebrated<br />

as no painting was done to cover the surfaces and textures.<br />

It conveys the oriental simplicity that coincides<br />

with the tea drinking culture as exposed concrete walls,<br />

natural-color pine wood, steel frames and glass of the<br />

openings blend the architecture to its surrounding in<br />

such an interesting manner. Among the obstacles that<br />

took place during the construction was the difficulty in<br />

the communication between the architect and the local<br />

contractor due to the contractor’s unfamiliarity with the<br />

construction techniques required for the project. The<br />

architect, however, worked out the problem by creating<br />

three-dimensional perspectives of each section of the<br />

program, accompanying with detailed on-site explanations.<br />

The outcome is the intriguing architectural with<br />

the byproduct being the friendship between the owner,<br />

architect and contractor that lasts even after the completion<br />

of the project as a result of their collaboration.<br />

There are certain noticeable downsides about the<br />

building such as the constantly emitting heat caused by<br />

the reflection of sunlight on the massive of piece of<br />

glass at the space near the Tea Gallery. Humidity is also<br />

an issue due to inefficient drainage of the roof. But at<br />

the end of the day, what one can recognize from Choui<br />

Fong Tea Café is the architect’s acknowledgment in the<br />

environment and ability to bring out the greatest potential<br />

of the location to complement the presence of<br />

architecture while the built structure stays humble and<br />

respectful to nature. For the team of IDIN Architects,<br />

the environment and architecture is like “water a fish<br />

swims in”. Jeravej provides some interesting insights<br />

about this particular metaphor that embodies the studio’s<br />

work philosophy. “You need to have an understanding<br />

in the place where the architecture is going to be in,<br />

where it lives and grows, both in the physical aspect<br />

and surrounding context. Good architecture should<br />

not only ‘be’ in an environment, but also appropriately<br />

complement it. It doesn’t have to be in a perfect or<br />

seamless harmony. It’s more about suitability and<br />

compatibility because that’s how architecture should be<br />

and interact with the place it locates in.”<br />

ปภพ เกิดทรัพย์<br />

จบการศึกษาจากคณะสถาปัตย-<br />

กรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย ปัจจุบันทำาหน้าที่<br />

เป็นกองบรรณาธิการวารสาร<br />

อาษา นิตยสาร art4d และมี<br />

ความสนใจเกี่ยวกับการปฏิบัติ<br />

วิชาชีพทางเลือกทางสถาปัตย-<br />

กรรม และความสัมพันธ์ของ<br />

สถาปัตยกรรมกับสื่อสิ่งพิมพ์<br />

FRONT ELEVATION<br />

76 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!