03.07.2020 Views

ASA JOURNAL 06/59

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

01<br />

01 รูปตัดหลังคาหอเสวยฝ่ายหน้า<br />

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน โดย<br />

ณัฐพงศ์ ผลพิบูลย์ลาภ<br />

Theewin S.<br />

ค่ายสารวจรังวัดมรดกสถาปัตยกรรมพระราชนิเวศน์-<br />

มฤคทายวันที่จัดในปีนี้นับเป็นครั้งที่ 3 ของพระราชนิเวศน์ฯ<br />

ที่เปิดโอกาสให้ชาวค่าย VERNADOC ได้เข้าทาการศึกษา<br />

นับตั้งแต่ RSU VERNADOC 2013 และ ASCC VER-<br />

NADOC 2014 ที่จัดโดย มหาวิทยาลัยรังสิต ตามลาพัง<br />

และจัดร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปีถัดมา<br />

สาหรับปีนี้ถือเป็นปีแรกที่สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้ร่วม<br />

จัดกับมหาวิทยาลัยรังสิต อย่างเต็มรูปแบบในนาม <strong>ASA</strong>+RSU<br />

VERNADOC 2016 โดยมี ผศ. สุดจิต (เศวตจินดา) สนั่นไหว<br />

เป็นผู้จัดการโครงการ และมีอาสาสมัครจานวน 82 คน<br />

เข้าร่วมโครงการ โดยส่วนหนึ่งเป็นนักศึกษาหรือสถาปนิก<br />

ที่มีประสบการณ์จากพื ้นที่อื่นๆ มาแล้วเข้าร่วมในฐานะ<br />

VERNADOC Veteran ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม<br />

เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิและธัญบุรี ซึ่งผู้เคยผ่าน<br />

ค่ายชุดนี้ถือเป็นกาลังสาคัญในการถ่ายทอดเทคนิคการ<br />

ทางานให้แก่อาสาสมัครหน้าใหม่ได้เป็นอย่างดี โดยในปีนี้<br />

นอกจากนักศึกษาในรายวิชาของทางรังสิตเองแล้ว ยังมี<br />

อาสาสมัครที่สนใจเข้าร่วมผ่านเว็บไซต์ www.vernadoc.com<br />

ที่ได้ทดลองเปิดระบบให้สมัครออนไลน์เป็นครั้งแรกอีกด้วย<br />

และนอกจากอาสาหน้าใหม่ชาวไทยแล้ว เป็นที่น่าสนใจว่า<br />

ยังมีอาจารย์และสถาปนิกอาสาจากประเทศออสเตรเลีย<br />

และอินโดนีเซียสมัครเข้าร่วมเรียนรู้วิธีการทางานและ<br />

การจัดการค่าย VERNADOC จานวนอีก 10 คนด้วย<br />

อาสาสมัครต่างชาติชุดนี้ ซึ่งนาทีมโดย Dr.Julie Nichols จาก<br />

University of South Australia (UniSA) และ Dr.Kemas<br />

Ridwan Kurniawan จาก Universitas Indonesia (UI)<br />

ได้มีจุดมุ่งหมายร่วมกันที่จะเรียนรู้เทคนิคการทางาน เพื่อ<br />

นาไปทดลองจัดค่าย Aceh VERNADOC 2017 ที่เมือง<br />

อาเจะห์ ประเทศอินโดนีเซียบ้าง ในความร่วมมือของสอง<br />

สถาบัน โดยมีประเทศไทยร่วมเป็นพี่เลี้ยง<br />

ซึ่งผลจากการจัดค่ายในครั้งนี้ นอกจากการเรียนรู้<br />

เทคนิคของ VERNADOC แล้ว ทั้งอาสาสมัครชาวไทย<br />

และชาวต่างชาติเหล่านี้ยังมีโอกาสได้รู้จักขนบธรรมเนียม<br />

ไทยตามแบบแผนของราชสานักรัชกาลที่ 6 ที่ทางพระราช-<br />

นิเวศน์ฯ ได้รื้อฟื้นเพื่อให้ผู้มาเยี่ยมเยือนได้เรียนรู้และสัมผัส<br />

ถึงวิถีชีวิตที่ร่วมยุคกับตัวพระราชนิเวศน์เมื่อเกือบ 90 ปี<br />

แล้ว ฉะนั้นจึงไม่น่าแปลกใจหากในช่วงนั้นนักท่องเที่ยว<br />

ที่มาเที่ยวชม จะเห็นชาวค่ายทั้งไทยแขกฝรั่งนุ่งโจงกระเบน<br />

สีสันสดใส พร้อมใส่เสื้อกั๊กสีน้าเงินของ <strong>ASA</strong> VERNADOC<br />

นั่งพับเพียบทางานตามอาคารทั้งเจ็ดหลังที่ได้รับมอบ-<br />

หมาย ทั้งนี้เสียงสะท้อนจากทุกคนที่เพิ่งเคยมาเข้าค่าย<br />

แห่งนี้ต่างบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า ได้เรียนรู้อะไรเยอะ<br />

มากๆ โดยเฉพาะเรื่องกิริยามารยาทที่พึงแสดงออกยาม<br />

ที่อยู่ในเขตพระราชฐาน ซึ่งหาโอกาสได้ยากที่จะได้เรียนรู้<br />

The architectural survey and documentation of the<br />

heritage site at Mrigadayavan Palace was held for the<br />

third year while the palace was opened for VERNADOC<br />

volunteers to study its architectural elements after RSU<br />

VERNADOC 2013 was successfully hosted by Rangsit<br />

University and ASCC VERNADOC 2014 that had Kasetsart<br />

University as an additional collaborator.<br />

This year marked the first year for the Association<br />

of Siamese Architects to be fully behind the organization<br />

of the event with Rangsit University. Going by the name<br />

<strong>ASA</strong>+RSU VERNADOC 2016 with Assistant Professor<br />

Sudjit S.Sananwai as the director, the project welcomed<br />

82 volunteers including a number of students and<br />

experienced architects from the previous VERNADOC<br />

including those from King Mongkut's Institute of Technology<br />

Ladkrabang, Khon Kaen University, Mahasarakham<br />

University, Naresuan University, Rajamangala<br />

University of Technology Suvarnabhumi, Rajamangala<br />

University of Technology Thanyaburi. These VERNADOC<br />

veterans are a significant force who transmitted the<br />

techniques and methods to the new volunteers. This<br />

year, in addition to the students from Rangsit University’s<br />

coursework, there were also interested volunteers who<br />

applied to join the project through www.vernadoc.com,<br />

which was open for online application for the first time<br />

this year. 2016 also saw ten professors and architects<br />

from Australia and Indonesia who volunteered due to<br />

their interest in the methods and working process of<br />

VERNADOC. This group of foreign volunteers led by<br />

Dr.Julie Nichols from University of South Australia<br />

(UniSA) and Dr.Kemas Ridwan Kurniawan from Universitas<br />

Indonesia (UI) share the same objective and that is to<br />

learn the techniques and processes, which will be used<br />

for the organization of Aceh VERNADOC 2017 in Aceh,<br />

Indonesia with the two institutions serving as collaborators<br />

and Thailand as the supervisor.<br />

What VERNADOC 2016 is able to offer is not only<br />

the volunteers’ opportunity to learn techniques but also<br />

a chance for international participants to personally<br />

experience the ancient traditions practiced under King<br />

Rama VI’s reign in which the palace is reintroduced to<br />

visitors as a form of education. The volunteers get to<br />

know about the way of life back in the early days of the<br />

Palace that dates back 90 years ago. This special activity<br />

explains the sight of Thai, Australian and Indonesian<br />

volunteers wearing colorful traditional wraparound<br />

trousers (jong kra-ben) with <strong>ASA</strong> VERNADOC’s navy<br />

blue vests sitting at different corners of the Palace’s 7<br />

buildings working on their documentation. The feedback<br />

from the newcomers was unanimous as everyone<br />

reported that they learned many things including the<br />

traditional court manners and etiquette that even Thai<br />

people haven’t had a chance to know previously. Another<br />

part of the lesson was the Palace’s preservation of nature<br />

and the environment, which resulted in the luscious and<br />

majestic beauty of the landscape and explained Mrigadayavan’s<br />

status as the place of retreat where King Rama VI<br />

chose to spend time during the recovery of his health.<br />

วารสารอาษา<br />

CONSERVATION <strong>ASA</strong> 91

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!