03.07.2020 Views

ASA JOURNAL 06/59

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

จากแนวคิดที่ต้องการรักษาต้นไม้เดิมให้อยู่ร่วมกับ<br />

สถาปัตยกรรมได้ สถาปนิกจึงใช้ทางเลือกเป็นการแบ่ง<br />

ตัวอาคารออกเป็น 2 ส่วน แต่ให้เชื่อมหากันด้วยสะพาน<br />

เหล็ก ขั้นตอนส่วนนี้สถาปนิกใช้วิธีปรับแบบหน้างาน<br />

เพื่อให้พื้นทางเดินสามารถหลบต้นไม้เดิมเพื่ออยู่ร่วมกัน<br />

ได้มากที่สุด ซึ่งจะสังเกตได้จากทางเดินไม้ที่เชื่อมระหว่าง<br />

อาคารทั้งสองลาต้นจะแทรกทะลุผ่านพื้นมาอย่างพอดี<br />

จากการทางานด้วยการลงวัดพื้นที่จริง ทาให้รูลอดที่พื้นไม้<br />

ของลาต้นไม้ทั้งเจ็ดช่องอยู่ร่วมกันอย่างพอดี ไม่ทาร้ายกัน<br />

ทุกขั้นตอนการออกแบบถูกสร้างในกรอบที่จะวางสเปซ<br />

แต่ละส่วนให้ทาลายต้นไม้เดิมน้อยที่สุด ซึ่งขั้นตอนการ<br />

ทางานจึงวางแต่ละส่วนให้หลบตามต้นไม้เดิมทั้งสิ้น เพื่อ<br />

รักษาสภาพแวดล้อมจากธรรมชาติเดิมให้อยู่ร่วมกับเมือง<br />

ได้ จนในที่สุดได้พาศิลปะพบธรรมชาติ แม้ว่าจะเป็นพื้นที่<br />

เล็กๆ เมื่อเทียบกับความกว้างใหญ่ของกรุงเทพมหานคร<br />

แต่ก็เป็นส่วนเล็กๆ ที่ช่วยให้เมืองหลวงแห่งนี้มีชีวิตชีวา<br />

มากขึ้นได้เป็นอย่างดี<br />

Under the preservation approach that prioritizes<br />

preservation of trees alongside the presence of an architectural<br />

structure, the architect’s solution led to the<br />

separation of the functional spaces into two buildings<br />

connected together by a steel bridge. For this particular<br />

process, the architects readjusted the design on site in<br />

order for the construction of the walkway to minimize the<br />

number of trees that had to be cut down, following the<br />

concept of ‘coexistence’ and the owner’s wish to keep<br />

as many trees as possible. What’s noticeable from the<br />

wooden walkways that connect the two buildings are<br />

the way the seven trunks seem to perfectly pierce through<br />

the built structure, which illustrates the working process<br />

where the architects work closely on site, resulting in<br />

most of trees being creatively preserved and protected.<br />

Every step of the design takes place with an intention to<br />

avoid destruction, and it seems that the goal has been<br />

achieved beautifully. At Naiipa, built structures are designed<br />

to be a part of, not to replace the existing environment,<br />

helping nature to find its way to coexist with the city.<br />

Ultimately, art and nature are met in this space that may<br />

seem tiny when compared to the vastness of Bangkok,<br />

but the livelihood and vibrant energy it brings to the capital<br />

city are undeniably pleasant and invigorating.<br />

<strong>06</strong> ต้นไม้แทรกอยู่ระหว่าง<br />

สถาปัตยกรรม ช่วยสร้าง<br />

บรรยากาศธรรมชาติ<br />

สาโรช พระวงค์<br />

สถ.บ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี และ สถ.ม.<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นอาจารย์<br />

ประจำาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล<br />

ธัญบุรี และอาจารย์พิเศษใน<br />

สถาบันอื่นๆ<br />

<strong>06</strong><br />

60 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!