23.04.2019 Views

ASA JOURNAL Vol.2 | 2018

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ควันไม้คือตัวเลือกที่อาจจะเหมาะสม แต่ก็ยังไม่สามารถระบุความเข้มข้นของน้ำส้มควันไม้ สัดส่วน<br />

การผสมน้ำส้มควันไม้กับน้ำ และ ระยะเวลาแช่หรือกรอกน้ำส้มควันไม้เป็นต้น ด้วยเหตุดังกล่าว หาก<br />

มีการศึกษาต่อไป ควรจัดแผนการทดลองเพื่อประเมินให้ครบทุกด้านโดยเฉพาะการพิสูจน์ความ<br />

สามารถทนต่อการทำลายเนื้อไม้ไผ่โดยมอด<br />

(2) ในการสร้างบ้านกระกร่างปกาเกอะญอ วัสดุมุงหลังคายังเป็นโจทย์สำคัญที่ยังไม่ได้รับการ<br />

ตอบที่ชัดเจน เนื่องจากการยืดอายุใช้งานวัสดุดั้งเดิมที่เป็น ใบตะคร้อ หรือ การหาวัสดุทดแทน ให้<br />

สามารถคงทนต่อแดดและฝนไม่ใช่เรื่องง่าย และต้องใช้การทดลองอีกรูปแบบหนึ่ง<br />

(3) การพัฒนาแนวคิดให้ชาวกระกร่างปกาเกอะญอ ร่วมกับอุทยานแห่งชาติ สร้างวงจรปลูก<br />

ไม้ไผ่ทดแทนในพื้นที่ที่เหมาะสม และ การพัฒนาสู่ธนาคารวัสดุก่อสร้างจากธรรมชาติอื่นๆเมื่อผ่าน<br />

กระบวนการยืดอายุการใช้งานแล้ว จะเป็นการตอบโจทย์ปัญหาเชิงพื้นที่ได้อย่างครบวงจร และยั่งยืน<br />

ซึ่งต้องการความร่วมมือขับเคลื่อนเชิงนโยบายในระดับพหุภาคีทั้งหน่วยงานในพื้นที่องค์กรไม่แสวงหา<br />

ผลประโยชน์ และ สถาบันการศึกษา<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

ในการศึกษา และก่อสร้างต้นแบบบ้านกะหร่างปกากะญอด้วยการยืดอายุการใช้งานโครงสร้าง<br />

และวัสดุจากไม้ไผ่นั้นจะสำเร็จลุล่วงไปไม่ได้หากขาดความร่วมมือจากกลุ่มช่างพื้นถิ่นปกากะญอ และ<br />

การสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ มูลนิธิปิดทองหลังพระ มูลนิธิสร้างฐานถิ่น สถาบันพัฒนา<br />

องค์กรชุมชน อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการสนับสนุนข้อมูลด้าน<br />

ต่าง ๆ ในการทำงาน ตลอดจนความเสียสละร่วมแรงร่วมใจของนิสิตรายวิชา Basin Architecture<br />

Morphology และ Environmental and Architectural Conservation ปี พ.ศ.2557 2558 2559<br />

ภาพที่ 15 : รูปด้าน 2 บ้านต้นแบบ<br />

Image 15 : Elevation of the prototype house 2.<br />

ภาพที่ 16 : รูปด้าน 3 บ้านต้นแบบ<br />

Image 16 : Elevation of the prototype house 3.<br />

ภาพที่ 17 : รูปตัด 1 บ้านต้นแบบ<br />

Image 17 : Section A. of the prototype house.<br />

ภาพที่ 18 : รูปตัด 2 บ้านต้นแบบ<br />

Image 18 : Section B. of the prototype house.<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

อัครพงศ์ อนุพันธ์พงศ์. (2550). บ้านเรือนชาวเขากะเหรี่ยงปกาเกอะญอ : ความยั่งยืนและการปรับตัวภายใต้นิเวศวัฒนธรรมไร่<br />

หมุนเวียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ภาพที่ 11 : ผังพื้นบ้านต้นแบบ ภาพที่ 12 : ผังพื้นบ้านต้นแบบ<br />

Image 11 : Floor plan of the prototype house.<br />

Image 12 : Floor plan of the prototype house.<br />

ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี. (2560). พลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ กรณีศึกษากลุ่มไทใหญ่ในอำเภอขุนยวม จังหวัด<br />

แม่ฮ่องสอนและกลุ่มกะเหรี่ยงในพื้นที่พักพิงชั่วคราวแม่หละจังหวัดตาก. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

อุฬาร ปัญจะเรือง และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี. (2558). รูปแบบและการก่อรูปของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นกะเหรี่ยงปกาเกอญอใน<br />

พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก. วารสารวิขาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม<br />

สรพงษ์ วิชัยดิษฐ. (2547). กระบวนการก่อรูปอัตลักษณ์ของผู้อพยพชาวกะเหรี่ยง: ศึกษากรณีกะเหรี่ยงในพื้นที่พักพิงชั่วคราว บ้าน<br />

แม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก. วิทยานิพนธ์ปริญญามานุษยวิทยามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

การใช้ประโยชน์ไม้ขั้นพื้นฐาน. (2547). สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้ กรมป่าไม้.<br />

สัมภาษณ์ อาจารย์ ธนา อุทัยภัตรากูร. (พฤษภาคม 2558)<br />

ภาพที่ 13 : ผังโครงสร้างพื้นบ้านต้นแบบ ภาพที่ 14 : รูปด้าน 1 บ้านต้นแบบ<br />

Image 13 : Structural plan of the prototype house’s floor.<br />

Image 14 : Elevation of the prototype house 1.<br />

สัมภาษณ์ อาจารย์ เดชา เตียงเกตุ. (มิถุนายน 2558)<br />

106 107<br />

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 02 / <strong>2018</strong><br />

The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects<br />

under the Royal Patronage<br />

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 02 / <strong>2018</strong><br />

The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects<br />

under the Royal Patronage

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!