01.09.2014 Views

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ไดดังเชน การใชครอปไจแอนท อัตรา 20 ซีซี รวมกับโปรกาดีอัตรา 10 ซีซี/น้ํา 20 ลิตร หรือการฉีดพน<br />

ดวยสารเคมีผสมชื่อมาลโตส (Maltose) อัตรา 20 ซีซี/น้ํา 20 ลิตร แทนการใชสูตรทางดวน<br />

(ค) การจัดการอื่นๆ เชน ตัดแตงกิ่ง ใสปุย ใหน้ํา และการอารักขาพืชใหดําเนิน-<br />

การเชนเดียวกันกับการเตรียมสภาพความพรอมตนของตนประเภทที่ 2<br />

2. ตนที่มีใบเหลืองเฉพาะที่ใบออน หรือใบเพสลาด<br />

ในสวนอื่นของลําตนจะมีสีเขียวและลักษณะเปนปกติ ซึ่งอาการใบเหลืองจะ<br />

ตางจากประเภทแรก โดยเมื่อพบอาการที่ใบออนจะเปนใบออนที่มีขนาดเล็กกวาปกติแผนใบและเสน<br />

กลางใบจะเหลืองซีดทั้งแผน ซึ่งเปนอาการขาดธาตุเหล็ก เมื่อพบในใบเพสลาดมักจะเปนการเหลืองที่<br />

แผนใบ เสนกลางใบยังคงมีสีเขียวอยู โดยแถบสีเขียวตรงกลางใบมีลักษณะคลายใบหอก คือ แถบกวาง<br />

จากขั้วใบแลวเรียวเล็กแหลมลงไปจนถึงปลายใบ ซึ่งเปนอาการขาดธาตุแมกนีเซียม หรืออาจพบอาการ<br />

ทั้งสองชนิดนี้ผสมผสานกันในตนเดียวกัน โดยมากจะพบในตนทุเรียนที่ปลูกในดินรวนปนทราย หรือ<br />

ดินทราย ที่มีธาตุแมกนีเซียมและธาตุเหล็กคอนขางต่ํา แตอาการใบเหลืองนี้เกิดขึ้นเนื่องจากการ<br />

จัดการบางอยางผิดพลาด จึงสงผลใหมีการขาดธาตุอาหารพืชดังกลาว ซึ่งการจัดการที่ผิดพลาด<br />

ประกอบดวย การใชปุยไนโตรเจน เชน ปุยยูเรีย เรงการพัฒนาการทางดานกิ่งกานสาขา โดยไมมีการใช<br />

ปุยอินทรียหรือปุยที่มีธาตุรอง หรือธาตุปริมาณนอยรวมดวย ซึ่งจะทําใหการพัฒนาการของยอดเกิดขึ้น<br />

มาก จนตนทุเรียนไมสามารถจะดูด (Uptake) ธาตุแมกนีเซียมและเหล็กขึ้นไปใชประโยชนไดทัน อนึ่ง<br />

ธาตุไนโตรเจนที่มีมากเกินไปจะไปลดอัตราการดูดซับธาตุแมกนีเซียมลง และเมื่อตนทุเรียนขาดธาตุ<br />

แมกนีเซียมแลวจะมีผลทําใหธาตุเหล็กเปนประโยชนลดลง จึงทําใหตนทุเรียนแสดงอาการขาดทั้งธาตุ<br />

แม็กนีเซียมและธาตุเหล็กไปพรอมๆ กัน ในกรณีนี้ควรแกปญหาโดยการปองกันดวยการใสปุยอินทรีย<br />

ควบคูกับปุยเคมีสูตรเสมอ หรือการใชปุยเคมีที่มีธาตุแมกนีเซียมและเหล็กในอัตราคอนขางสูงฉีดพน<br />

ทางใบ เพื่อปองกันใบเหลืองหลังจากการเรงการพัฒนาการทางดานกิ่งกานสาขาดวยปุย แตถาใบทุเรียน<br />

มีอาการเหลืองแลว สามารถแกไดโดยการฉีดพนดวยปุยทางใบที่มีธาตุแมกนีเซียม และเหล็กในอัตรา<br />

สูง ดังเชน ปุยเฟสติรอน คอมบี ปุยยูนิเลทรวม หรือปุยแมกนีเซียมยูนิเลท ผสมกับปุยเหล็ก ยูนิเลท<br />

หรือปุยไมโครมิกซ ตามอัตราที่ระบุไวทุกสัปดาหติดตอกันประมาณ 3 ครั้ง จะชวยทําใหใบเหลืองนั้น<br />

หายไปได โดยปกติใบเหลืองประเภทนี้จะสามารถหายไดเองเมื่อใบแกขึ้น แตจะใชเวลาคอนขางนาน<br />

อาจมีปญหาในการเตรียมความพรอมตนใหทันกับกําหนดเวลาที่สภาพแวดลอมเหมาะสมได<br />

อาการเหลืองที่เกิดจากการใชสารเคมีกําจัดวัชพืชไมถูกวิธี คือการที่เกษตรกรใช<br />

สารเคมีกําจัดวัชพืช เชน กลุมพาราคว็อท กลุมไกรโฟเสท หรือกลุมอื่นฉีดพน เพื่อกําจัดวัชพืชใตทรง<br />

พุมของทุเรียนในอัตราสูงกวาที่กําหนดไว ในขณะที่รากทุเรียนกําลังพัฒนาการทําใหปริมาณสารเคมี<br />

สวนเกินไหลผานตนวัชพืชไปสัมผัสกับรากทุเรียน ซึ่งอยูที่ผิวดินหรือใกลกับผิวดินแหงตายไป โดย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!