01.09.2014 Views

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

แมลงและไรศัตรูทุเรียน<br />

ศรุต สุทธิอารมณ<br />

มานิตา คงชื่นสิน<br />

แมลงและไรศัตรูที่สําคัญและทําความเสียหายทางเศรษฐกิจใหแกทุเรียนมี 6 ชนิด คือ หนอน<br />

เจาะเมล็ดทุเรียน เพลี้ยไกแจ เพลี้ยแปง หนอนเจาะผล มอดเจาะลําตน หนอนดวงปกแข็งกินราก<br />

ทุเรียน และไรแดงแอฟริกัน จากการสํารวจแมลงศัตรูบนตนทุเรียนสวนใหญ พบวา จํานวนประชากร<br />

แมลงจะสูงเมื่อมีอาหารมาก หรือเมื่อตนทุเรียนซึ่งเปนพืชอาหารอยูในระยะที่เหมาะสม เชน เพลี้ยไก<br />

แจระบาดเฉพาะระยะที่ทุเรียนแตกใบออนเทานั้น แตก็มีแมลงศัตรูทุเรียนบางชนิดที่ระบาดทุกระยะ<br />

ของพืช เชน มอดเจาะลําตน และ หนอนดวงปกแข็งกินรากทุเรียน เปนตน<br />

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน (<strong>Durian</strong> seed borer)<br />

ชื่ออื่น หนอนใต หนอนมาเลย หนอนรู<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Mudaria luteileprosa Holloway<br />

วงศ<br />

Noctuidae<br />

อันดับ<br />

Lepidoptera<br />

ความสําคัญและลักษณะการทําลาย<br />

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียนเปนศัตรูที่มีความสําคัญและทําความเสียหายตอผลผลิตทุเรียนในเขต<br />

ภาคตะวันออกซึ่งเปนแหลงปลูกที่สําคัญ สันนิษฐานวาหนอนชนิดนี้มีถิ่นกําเนิดในประเทศมาเลเซีย<br />

แลวระบาดเขามาทางภาคใตของประเทศไทย เมื่อเกษตรกรจากภาคตะวันออกนําเมล็ดทุเรียนพันธุ<br />

พื้นเมืองจากภาคใตมาเพาะสําหรับใชเปนตนตอ จึงทําใหหนอนชนิดนี้ติดมาดวย และมีการเรียก<br />

หนอนชนิดนี้วา “หนอนใต” หรือ “หนอนมาเลย” หนอนชนิดนี้เมื่อเขาทําลายภายในผลทุเรียนจะไม<br />

สามารถสังเกตจากภายนอกได เมื่อหนอนโตเต็มที่จึงเจาะเปลือกเปนรูออกมาและทิ้งตัวลงบนพื้นเพื่อ<br />

เขาดักแดในดินเกษตรกรจะเห็นแตรูที่หนอนเจาะออกมาแตไมพบตัวหนอนอยูภายใน หรือบางกรณี<br />

จะพบความเสียหายเมื่อหนอนเจาะออกมาภายหลังการเก็บเกี่ยวแลว จึงเรียกหนอนชนิดนี้อีกชื่อวา<br />

“หนอนรู”<br />

หนอนชนิดนี้พบระบาดเปนครั้งแรกที่ อําเภอแกลง จังหวัดระยองเมื่อป 2530 จากการสํารวจ<br />

ในป พ.ศ.2533 พบวา ที่จังหวัดระยองมีการระบาดใน 8 ตําบล คือ ชากโดน สองสลึง หวยยาง<br />

เนินคอ ทางเกวียน วังหวา บานนา และกร่ํา โดยที่ตําบลชากโดนมีความเสียหายสูงสุดถึง 26 %ของ<br />

พื้นที่ปลูก สวนที่จังหวัดจันทบุรีพบเฉพาะ 2-3 ตําบลในเขตอําเภอเมืองเทานั้นและมีความเสียหาย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!