01.09.2014 Views

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ดินยังมีความตานทานตอโรคระดับสูง หรือการนําไปใชเปนตนตอยังมีนอยกวาทุเรียนนก จึงยัง<br />

สํารวจไมพบความเสียหายจากโรค อยางไรก็ตาม แนวทางการใชพันธุตานทานนี้ก็ยังคงเปนมาตรการ<br />

หลักในการปองกันกําจัดโรค โดยการคนหาตนตอชนิดใหมๆ และวิธีการนําตนตอมาใช เชนการใช<br />

ทุเรียนนกในรูปของกิ่งตอนเปนตนตอแทน เพื่อหลีกเลี่ยงจุดออนของสวนของเมล็ดที่กลายเปนโคน<br />

ตน เปนตน<br />

ชาวสวนทุเรียนมีการใชตนตอเพื่อปองกันการเกิดโรคโคนเนารากเนากันมานานแลว โดย<br />

เสริมรากทุเรียนพันธุดีดวยพันธุพื้นเมืองเพาะเมล็ด ทําใหมีตนตอ 2-3 ตน เปนการเพิ่มโอกาสที่ตนตอ<br />

บางตนอาจรอดพนจากการเขาทําลายของเชื้อโรคไดบาง<br />

การรักษาอาการโคนเนาหรือลําตนเนา ใหสกัดเอาสวนที่เปนโรคออกใหหมดจนถึงเนื้อไม<br />

โดยใชมีดหรือสิ่วคมๆ หลังจากนั้นทารอยแผลดวยปูนแดงหรือสารปองกันกําจัดโรคพืชประเภท<br />

สารประกอบทองแดง เชน คูปราวิท หรือคอปเปอรออกซี่คลอไรด เพื่อปองกันเชื้อโรคอื่นเขาทําลาย<br />

ภายหลัง แตถาหากโรคลุกลามมาก การสกัดเปลือกออกนั้น นอกจากเปนการยากที่จะสกัดเอาสวนที่<br />

เปนโรคไดอยางหมดจดแลว ยังอาจทําใหตนทรุดโทรมไดงาย เนื่องจากทอน้ําทออาหารถูกตัดขาด<br />

มากเกินไป<br />

ในระยะหลังมีการผลิตสารเคมีประเภทดูดซึมที่มีประสิทธิภาพเฉพาะกับเชื้อราชั้นต่ํา ใน<br />

กลุมPhycomycetes ขึ้นมาหลายชนิด เชน สารพวกเอซิลอลานีน (Acylalanine) ไดแก สารเมตาแลค<br />

ซิล (metalaxyl), และสารฟอสเอทธิล อะลูมินั่ม (phosethyl aluminum), เบนนาแลคซิล (benalaxyl),<br />

ออกซา-ดิกซิล (oxadixyl) และโอฟูเรซ (ofurace) เปนตน วิธีการใชทําไดโดยถากเปลือกบริเวณที่เปน<br />

โรคออกบางๆ ใหทราบขอบเขตของแผลที่ถูกทําลาย ใชสารเคมี เชน สารเมตาแลคซิลชนิดผง 25%<br />

ในอัตรา 50-60 กรัมตอน้ํา 1 ลิตร หรือสารฟอสเอทธิล อะลูมินั่มชนิดผง 80% ในอัตรา 80-100 กรัม<br />

ตอน้ํา 1 ลิตร ผสมน้ําทาบริเวณที่ถากออก หลังจากนั้นประมาณ 15 วัน ควรตรวจดูแผลที่ทาไว หาก<br />

ยังมีลักษณะฉ่ําน้ํา ควรทาซ้ําอีกจนกวาแผลจะแหง<br />

การรดดินหรือฉีดพนดวยสารเคมีในสภาพการเกิดโรคโดยการปลูกเชื้อราสาเหตุนั้น พบวา<br />

ไมสามารถรักษาโรคที่โคนหรือลําตนใหหายได การทาจึงเปนวิธีที่ดีที่สุด แตการรักษาโรคจะไดผลก็<br />

ตอเมื่อเกษตรกรตองหมั่นตรวจตราตนทุเรียนในแปลงปลูกอยางสม่ําเสมอ โดยเฉพาะในชวงฤดูฝน<br />

ซึ่งเชื้อราจะเริ่มระบาดเขาทําลายตนทุเรียน เมื่อเห็นอาการของโรคตั้งแตระยะเริ่มแรก และรีบ<br />

ดําเนินการรักษาเสียแตเนิ่นๆ จะชวยใหประสบความสําเร็จโดยงายและไมสิ้นเปลืองมาก หากปลอย<br />

ใหเชื้อโรคลุกลามเขาทําลายตนอยางกวางขวาง จนแผลมีขนาดใหญ การรักษาจะทําไดยากและ<br />

สิ้นเปลืองมากขึ้น ตนชะงักการเจริญเติบโต มีอาการทรุดโทรม ตองใชเวลาพักฟนนานกวาที่จะฟนตัว<br />

และแข็งแรงจนใหดอกผลตามปกติได<br />

การรดดินดวยสารเคมี เชน สารเมตาแลกซิล ซึ่งปจจุบันมีการผลิตออกขายในรูปเม็ด คือ เม<br />

ตา-แลกซิล 5%G (granule) อาจชวยบําบัดรักษาใหตนทุเรียนที่เปนโรคที่รากใหญ รากฝอยหรือปลาย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!