01.09.2014 Views

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

4.4 การปองกันกําจัดโรคและแมลง<br />

แมลงศัตรูที่สําคัญในระยะออกดอก ไดแก เพลี้ยไฟ ไรแดง หนอนกัดกินกานขั้วดอก<br />

เพลี้ยออน โรคที่สําคัญ ไดแก โรคดอกเนาเนื่องจากเชื้อราไฟทอฟเธอรรา และโรคดอก แหงเนื่องจาก<br />

เชื้อแอนแทรคโนส จึงควรปองกันและกําจัดโรคและแมลงในชวงกอนดอกบานอยางสม่ําเสมอ<br />

4.5 การชวยผสมเกสร<br />

ตามธรรมชาติละอองเกสรทุเรียนมีเมือกเหนียว ทําใหเกาะติดกันเปนกอน ลักษณะ<br />

เชนนี้จึงตองอาศัยแมลงเปนพาหะสําคัญในการผสมเกสร แตเนื่องจากแมลงพาหะดังกลาวลดนอยลง<br />

จึงทําใหกระบวนการถายละอองเกสรเกิดไดนอยหรือลมเหลว การติดผลนอยของทุเรียนโดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งพันธุชะนีจึงเปนปญหาที่สําคัญ การชวยผสมเกสรโดยใชละอองเกสรจากทุเรียนตางพันธุ จึง<br />

เปนการชวยทําใหกระบวนการถายละอองเกสรประสบความสําเร็จ และนําไปสูการปฏิสนธิ ปริมาณ<br />

การติดผลจึงเพิ่มขึ้น ผลทุเรียนที่เกิดจากการชวยผสมเกสร จะมีการเจริญเติบโตเร็ว รูปทรงดี พูเต็ม<br />

คุณภาพเนื้อดี สีเนื้อ และรสชาติไมแตกตางจากพันธุแม ถึงแมจํานวนเมล็ดจะมากขึ้น แตปริมาณเนื้อที่<br />

รับประทานไดตอผลก็เพิ่มขึ้นดวย<br />

4.6 การฉีดพนดวยสารควบคุมการเจริญเติบโต<br />

ศูนยวิจัยพืชสวนจันทบุรี ไดดําเนินการวิจัยเพื่อชวยสงเสริมการติดผลดวยการใช<br />

สารเคมีหลายชนิด เพื่อใหเปนทางเลือกแกเกษตรกร นอกจากวิธีการชวยผสมเกสรซึ่งไดผลดีอยูแลว<br />

เพราะมีเกษตรกรบางกลุมที่เปนสวนขนาดใหญ การชวยผสมเกสรจะไมสะดวกตอการปฏิบัติงาน<br />

เนื่องจากจําเปนตองใชแรงงานมากและใชเวลานาน เชน มีพื้นที่ปลูกทุเรียน 16 ไร จะตองใชแรงงานใน<br />

การชวยผสมเกสรคืนละ 10 คน ติดตอกันไมต่ํากวา 16 คืน จึงจะทําใหการผสมเกสรนั้นไดผลดีตาม<br />

ตองการ ซึ่งถาเกษตรกรที่มีสวนเปนพันไรจําเปนตองระดมแรงงานในการผสมเกสรมาก จากการ<br />

ทดลอง พบวา การฉีดพนดวยสารคัลทาร อัตรา 500 ppm ที่ใบทั่วทั้งตน ในขณะที่ดอกทุเรียนอยูใน<br />

ระยะกระดุมหรือหัวกําไล จะชวยทําใหมีการติดผลไดในปริมาณสูงเชนเดียวกับการชวยผสมเกสร แต<br />

การพัฒนาการของผลออนชวง 2-4 สัปดาหหลังดอกบาน จะชากวาปกติ จนเมื่อผลมีอายุได 15 สัปดาห<br />

หลังดอกบาน การพัฒนาการของผลเริ่มสูงขึ้น และเขาสูภาวะปกติในเวลาตอมา คุณภาพของผลผลิต<br />

ปกติไมแตกตางไปจากการชวยการติดผลดวยวิธีการอื่น<br />

สวนการใชสารเคมีชนิดอื่น เชน สาร NAA, GA3, ปุยเคมีฉีดพนทางใบ เชน ปุย<br />

KNO3, Ca(NO3)2, ปุย Ca- B กรดฮิวมิค หรือสารสกัดจากสาหรายทะเล (ฟลอริเจน) ตางมีผลชวยให<br />

การติดผลของทุเรียนเพิ่มขึ้นไดในบางกรณี แตปริมาณและโอกาสในการติดผลยังไมเดนชัดเทากับการ<br />

ชวยผสมเกสร และการฉีดพนดวยสารคัลทาร อัตรา 500 ppm.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!