01.09.2014 Views

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

Durian - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2. หมั่นสํารวจผลทุเรียนในแปลงปลูกอยางสม่ําเสมอ โดยเฉพาะในชวงผลแก หากพบ<br />

อาการผลเปนจุดเนา ควรทําการฉีดพนสารเคมี เชน เมตาแลกซิล 25% WP หรือ เมตาแลกซิล ผสม<br />

แมน-โคแซบ หรือฟอสเอทธิล อะลูมินั่ม 80% WP ใหทั่วทั้งลําตนประมาณ 1-2 ครั้ง ผลทุเรียนที่เนา<br />

เสียและรวงหลนอยูโคนตนตองเก็บออกนอกแปลงใหหมด แลวดําเนินการเผาเมื่อแหงในภายหลัง<br />

3. ในแปลงปลูกที่ผลทุเรียนมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคผลเนาสูง เนื่องมาจากมีตนที่<br />

เปนโรครากเนาโคนเนาในแปลงมาก และมีฝนตกชุกในชวงใกลเก็บเกี่ยวผล เชื้อโรคอาจติดอยูกับผล<br />

โดยยังไมแสดงอาการ สําหรับทุเรียนที่ตองการสงออกซึ่งตองรักษาคุณภาพจนกระทั่งถึงมือผูบริโภค<br />

หรือทุเรียนที่ตองไปกองรออยูหนาโรงงานแชแข็งเปนเวลานาน อาจจําเปนตองจุมผลดวยสารเคมี<br />

เชน ฟอสเอทธิล อะลูมินั่ม และผึ่งใหแหง กอนทําการบรรจุหีบหอหรือสงไปยังจุดหมายปลายทาง<br />

4. ระวังไมใหผลทุเรียนสัมผัสกับดินหลังการเก็บเกี่ยว เพราะเชื้อไฟทอปธอราที่มีในดิน<br />

อาจติดไปกับผล และทําใหเกิดการเนาเสียได โดยบรรจุผลทุเรียนในตะกราพลาสติกหรือเขง หรือ<br />

ปูพื้นที่วางผลทุเรียนดวยกระสอบที่สะอาด และระวังการเกิดบาดแผลจากการทิ่มแทงกันของหนาม<br />

ระหวางการขนยาย<br />

โรคใบติดและใบไหม (Rhizoctonia Leaf Blight)<br />

โรคนี้พบไดทั่วไปในแปลงปลูกทุเรียนที่มีความชุมชื้นสูง มักเกิดกับทุเรียนที่มีความสมบูรณ<br />

สูง ทรงพุมหนา พบมากกับพันธุชะนีและหมอนทอง มีสาเหตุจากเชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia<br />

sp.) ซึ่งเปนเชื้อราที่สามารถพักตัวอยูในดินไดเปนเวลานาน โดยอาศัยเศษซากพืช<br />

ลักษณะอาการ<br />

เชื้อราเขาทําลายพืชไดดีในระยะที่ทุเรียนแตกใบออนในฤดูฝน มักพบอาการบนใบออนที่คลี่<br />

แลว โดยเห็นเปนแผลคลายน้ํารอนลวกบริเวณกลางใบและขอบใบ แผลจะคอย ๆ ขยายตัวลุกลาม<br />

และเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล ขนาดและรูปรางแผลไมแนนอน ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมเหมาะสมกับการ<br />

แพรระบาดมากนอยเพียงใด เชื้อราสามารถลุกลามไปยังใบอื่นๆ ที่ติดกันได โดยสรางใยยึดใบให<br />

ติดกัน และทําใหเกิดอาการใบไหม หรือใบที่เปนโรคลุกลามจนแหงและหลุดรวงลงมาไปแตะหรือ<br />

ติดกับใบที่อยูขางลาง เชื้อราก็จะเขาทําลายใบเหลานั้น จนเกิดโรคลุกลามไปหลายๆ จุดในตน ทําให<br />

เห็นอาการใบไหมเปนหยอมๆ ใบจะทยอยรวงหลนลงยังโคนตนเหลือแตกิ่ง ซึ่งตอมาจะคอยๆ แหง<br />

ทําใหตนทุเรียนเสียรูปทรง และมีการเจริญเติบโตไมสมบูรณ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!