20.07.2023 Views

ASA JOURNAL 12/2023

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

professional<br />

ECO ARCHITECT<br />

<strong>12</strong>4 <strong>12</strong>5<br />

“I’ve set myself the objective of designing houses that can genuinely<br />

breathe with nature. It’s not about us being able to survive, but about<br />

nature being able to continue existing--to keep on breathing. It’s a<br />

mutually beneficial relationship in which we take from nature and vice<br />

versa, all the while minimizing pollution and creating a truly comfortable<br />

living space.”<br />

เราอยากออกแบบระบบนิเวศควบคู่ไปกับสถาปั ตยกรรม<br />

Eco Architect เกิดขึ้นภายใต้ความตั้งใจที่จะออกแบบระบบ<br />

นิเวศควบคู่ไปกับสถาปัตยกรรม โดยการออกแบบทุกงาน<br />

จะมีหัวใจสำคัญคือ “ต้องอยู่สบายและต้องหายใจร่วมกับ<br />

ธรรมชาติ เพราะเราอยากออกแบบระบบนิเวศควบคู่ไปกับ<br />

สถาปัตยกรรม” และจากวันแรกจนถึงวันนี้ เป้าหมายของ<br />

Eco Architect ก็ยังคงเป็นเช่นเดิมไม่เคยเปลี่ยนแปลง<br />

“เราเกิดเป้ าหมายที่จะสร้างบ้านที่หายใจร่วมกับ<br />

ธรรมชาติได้ คือไม่ใช่ว่าเราหายใจได้คนเดียว ธรรมชาติ<br />

ก็ต้องมีชีวิตที่ยืนยาวต่อไป ธรรมชาติก็หายใจร่วมกัน<br />

ไป เหมือนเราดูแลธรรมชาติ ธรรมชาติดูแลเรา สร้าง<br />

มลภาวะให้น้อย สร้างมลพิษให้น้อย แล้วก็ทำให้บ้าน<br />

อยู่สบายจริงๆ”<br />

ในช่วงแรก งานของ Eco Architect มักเป็นงานจากลูกค้า<br />

เก่าที่เคยทำงานร่วมกันก่อน แต่เมื่อเวลาผ่านไป ด้วยความ<br />

พยายามตั้งใจให้ทุกงานที่เกิดขึ้นของ Eco Architect พิสูจน์<br />

ได้ว่า “อยู่สบาย” อย่างแท้จริงๆ” ผลงานทุกชิ้นจึงให้ความ<br />

รู้สึกถึงความเป็นบ้าน มีความสบาย มีความผ่อนคลาย แม้<br />

กระทั่งสำนักงานที่ภูเก็ต ก็เป็นอีกตัวอย่างที่ท ำให้ทุกคนเห็น<br />

ว่า นอกจากออกแบบบ้านให้คนอื่นได้อยู่สบายแล้ว สมาชิก<br />

Eco Architect ก็ทำงานแบบ “อยู่สบาย” จากลูกค้าเดิม จึง<br />

เกิดคำแนะนำแบบปากต่อปาก จนเกิดการขยายฐานลูกค้า<br />

เป็นความพยายามในการใช้งานพิสูจน์ตัวเองที่ประสบความ<br />

สำเร็จอย่างงดงาม และทำให้“บ้านอยู่สบาย บ้านที่หายใจร่วม<br />

กับธรรมชาติ” เป็นเครื่องหมายการค้าและภาพจำของ Eco<br />

Architect ตลอดมา<br />

จนถึงตอนนี้เราก็ยังอยู่แบบครอบครัว<br />

Eco Architect เริ่มจากคำรณเพียงคนเดียว ต่อมาในปีที่สาม<br />

ของบริษัท พนักงานคนแรกก็เข้ามาในตำแหน่งพนักงาน<br />

เขียนแบบ ตามมาด้วยสถาปนิก และมัณฑนากรเป็นลำดับ<br />

และใน 5 ปีที่ผ่านมา Eco Architect ได้มีการขยายบริษัทมา<br />

เปิดที่กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันสมาชิกของ Eco Architect<br />

ทั้ง 2 ทีม มีจำนวนรวมกัน <strong>12</strong> คน โดยจำนวนสมาชิกทั้งทีม<br />

ภูเก็ตและกรุงเทพฯจะมีประมาณไม่เกิน 6 คนต่อทีม<br />

5<br />

แม้จะมีการขยายบริษัท แต่จำนวนสมาชิกกลับไม่ได้เพิ่มมาก<br />

ขึ้นนัก ด้วยเหตุผลที่ว่าขนาดของบริษัทที่เป็นอยู่ในทุกวันนี้<br />

\ยังสามารถบริหารจัดการด้วยตัวคนเดียวได้ และสามารถ<br />

ทำให้ทุกคนทำงานได้อย่างมีความสุข<br />

“ปี แรกๆ บริหารแบบครอบครัว จนถึงตอนนี้เราก็ยังอยู่<br />

แบบครอบครัว”<br />

จากวันแรกที่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน ำรณเป็นทั้งผู้ก่อตั้ง ค<br />

สถาปนิก<br />

ธุรการ บัญชี ฝ่ายบุคคล หรือแม้กระทั่งศูนย์กลางทางจิตใจ<br />

ของน้องๆ ในทีม เขามองว่าการทำงานอย่างที่ Eco Architect<br />

เป็นอยู่ จะทำให้ทุกคนในบริษัทรู้สึกว่าพวกเขาคือครอบครัว<br />

เดียวกัน และผลงานที่ดีก็จะเกิดจากการท ำงานที่ให้ใจกัน<br />

นั่นเอง<br />

ระบบบริหารจัดการของ Eco Architect มีกำหนดว่าหนึ่งต้อง<br />

ทำงานกี่ชั่วโมง แต่ไม่ได้มีก ำหนดเวลาในการเข้างานหรือ<br />

เลิกงาน สมาชิกทุกคนจะมีสมุดลงเวลาของตัวเอง ซึ่งต้องส่ง<br />

ให้คำรณทุกสิ้นเดือน โดยไม่จำกัดว่าจะเป็นการบันทึกลงใน<br />

คอมพิวเตอร์หรือสมุดบันทึก สิ่งที่บันทึกในสมุดลงเวลาเป็น<br />

เหมือนบันทึกประจำวันว่าแต่ละวันพวกเขาทำงานอะไรกัน<br />

นี่คือสิ่งที่ช่วยให้สามารถประเมินได้ว่า แต่ละคนในทีมท ำงาน<br />

อะไรอยู่บ้าง และเห็นจุดอ่อนหรืออุปสรรคของการท ำงาน และ<br />

ทำให้เขาสามารถให้คำแนะนำสมาชิกในทีมได้อย่างตรงจุด<br />

05-06<br />

บรรยากาศการทางาน<br />

ของ Eco Architect<br />

07<br />

บ้านสุขใจดี<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

6<br />

7<br />

The majority of Eco Architect’s first assignments were for former clients with whom Khamron<br />

had previously worked. As time passed, it became evident that all of Eco Architect’s efforts<br />

and ideas resulted in genuinely “livable” homes. Relaxing and thermally comfortable living<br />

spaces characterize their design, which simultaneously emanates a sense of warmth and<br />

belonging. Even their office in Phuket exemplifies the value of a comfortable work environment,<br />

which is something Kamrom prioritizes for Eco Architect’s employees, who are responsible for<br />

the studio’s renowned residential projects that feature high-quality living spaces. The studio’s<br />

clientele has increased due to the success of word-of-mouth among its existing clients. This<br />

development serves as proof of the studio’s success, which has been propelled by the quality<br />

of their work, and has made the expression “a comfortable home that shares the same breath<br />

with nature” not merely a catchphrase but a trademark and an integral part of Eco Architect’s<br />

identity.<br />

We were like a family back then, and we’re still like that now.<br />

Khamron was the one and only founder and staff member when Eco Architect began. In its<br />

third year, the studio employed its second team member to serve as a draftsman. An architect<br />

and an interior designer were eventually added to the studio. In the past five years, Eco<br />

Architect has expanded with a branch based in Bangkok. The studio presently has two<br />

teams and a total of <strong>12</strong> employees. The Bangkok and Phuket offices have no more than six<br />

working staff members due to Khamron’s desire to keep the firm small enough that he can<br />

run it alone and for his employees to maintain a happy working life.<br />

“We were like a family back then, and we’re still like that now.”<br />

Khamron has been the creator, principal architect, administration officer, accountant, human<br />

resource officer, and even the mentor—the go-to guy for his team members—since the<br />

company’s starting point. He believes that the present method by which Eco Architect is run<br />

will foster a sense that everyone at the organization is a family member and that exceptional<br />

works are the product of everyone’s mutual trust, understanding, and devotion.<br />

Kamrom runs Eco Architect on a flex time system, which outlines the daily working hours<br />

that each employee must meet without a set time signaling when to clock in and out. Each<br />

member of the staff has their own roster, which they must present to Khamron at the end of<br />

each month. The roster might be kept in a notebook or as a digital file. Each notebook contains<br />

daily updates on what each member of staff accomplishes on a daily basis. This method<br />

enables Khamron to evaluate the job that each staff member has done and is doing, as well<br />

as stay informed about the flaws or hurdles that each of his team members is dealing with,<br />

allowing him to give effective and relevant advice.<br />

“It’s almost as if they’re practicing keeping a journal. At the end of<br />

each month, I can assess their output as well as their workflow so<br />

that I may make the appropriate recommendations.”

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!