20.07.2023 Views

ASA JOURNAL 12/2023

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

28<br />

theme<br />

ON THE ROOF<br />

29<br />

“ในการสร้างที่อยู่อาศัยของเรา ก่อนอื่นเราต้องสร้างร่ม<br />

เพื่อทอดเงาลงบนพื้นโลก และภายใต้แสงเงาอ่อนๆ นั้น<br />

เราจึงสร้างบ้านขึ้นมา” Junichiro Tanizaki นักเขียนชาว<br />

ญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียง ได้เขียนไว้ในหนังสือคลาสสิกเกี่ยวกับ<br />

สุนทรียศาสตร์ของญี่ปุ่น “In Praise of Shadows” เมื่อปี<br />

1933 ในบทความที่มีชื่อเสียงนี้ Tanizaki สังเกตค่านิยม<br />

ดั้งเดิมของญี่ปุ่นผ่านสิ่งของและสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจำ าวัน<br />

อย่างห้องพักในโรงแรม ห้องสุขา แสงไฟ เครื่องใช้บนโต๊ะ<br />

อาหาร อาหาร และอื่นๆ Tanizaki ไม่ใช่สถาปนิก แต่การ<br />

สังเกตของเขาสามารถให้มุมมองใหม่ๆ แก่สถาปนิกในการ<br />

มองสถาปัตยกรรม บทนำานี้อาจเป็นเครื่องเตือนเราว่า บางที<br />

ทุกอย่างอาจเริ่มต้นขึ้นที่ “หลังคา” หลังคาก่อกำาเนิดและ<br />

กำาหนดทุกสิ่งที่ตามมา หากไม่มีหลังคากั้นกลางระหว่าง<br />

เรากับดวงอาทิตย์ ก็จะไม่มีร่มเงาบนโลกและไม่มีสิ่งมีชีวิต<br />

ที่สามารถอาศัยอยู่ได้<br />

Tanizaki ยังเขียนบันทึกเปรียบเทียบสุนทรียศาสตร์ของ<br />

ญี่ปุ่นกับของตะวันตก ตัวอย่างเช่น เขาพูดถึงหลังคาของ<br />

อาสนวิหารโกธิคและวัดญี่ปุ่น Tanizaki กล่าวว่า “ความ<br />

งามพิเศษ” ของอาสนวิหารแบบโกธิคอยู่ที่หลังคาทรงสูง<br />

และแหลม โดยยอดของมหาวิหารนั้น “สูงขึ้นไปบนสวรรค์<br />

ให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้” ตรงกันข้ามกับลักษณะที่<br />

โดดเด่นของวัดญี่ปุ่นคือหลังคาหนาพร้อมชายคาที่สร้างเงา<br />

ที่ “ทอดไกลและกินพื้นที่กว้างขวาง”<br />

สิ่งนี้เตือนเราว่าการออกแบบหลังคามักแฝงไปด้วยนัยสำ าคัญ<br />

อาสนวิหารโกธิคนิยมสร้างหลังคาแหลมสูงเพื่อเป็นสื่อกลาง<br />

ระหว่างเรากับสวรรค์ และเพราะความต้องการอยู่ภายใต้<br />

ร่มเงาของแสงแดดและแสงภายในอาคารที่นุ่มนวล วัดญี่ปุ่น<br />

จึงนิยมสร้างหลังคาในลักษณะที่ชายคายื่นออกมา<br />

หลังคาจึงเป็นองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่มีอิทธิพลซึ่ง<br />

สามารถปกป้องและให้ชีวิตได้ หลังคายังสามารถควบคุม<br />

คุณภาพของพื้นที่ที่อยู่เบื้องล่าง หลังคานับเป็นสื่อกลางที่อยู่<br />

“ระหว่าง” อย่างแท้จริง โดยเป็นสื่อกลางที่คอย “เจรจา”<br />

ระหว่างสภาพที่เป็นอยู่เพื่อประโยชน์ของมนุษยชาติ แต่ถ้า<br />

เป็นเช่นนั้น ทำาไมบางครั้งหลังคาถึงมีความสำาคัญน้อยกว่า<br />

ในการออกแบบร่วมสมัย? ในบทความนี้ เราจะมองย้อน<br />

กลับไปในประวัติศาสตร์เพื่อเชิดชูคุณค่าของหลังคาและ<br />

มองออกไปให้ไกลยังการพัฒนาใหม่ๆ และสิ่งที่จะเกิดขึ้น<br />

ในอนาคต<br />

ระหว่างเรากับสภาพภูมิอากาศ<br />

จากข้อสังเกตของ Tanizaki เขาชี้ให้เห็นว่า "ถ้าหลังคาของ<br />

บ้านญี่ปุ่นเป็นเหมือนร่ม หลังคาของบ้านแบบตะวันตกก็<br />

คงเป็นเหมือนฝาครอบ" เขาอธิบายเพิ่มเติมว่าเป็นเพราะ<br />

หลังคาของบ้านตะวันตกถูกสร้างขึ้นเพื่อกำาบังลมและน้ำาค้าง<br />

“In making for ourselves a place to live, we first<br />

spread a parasol to throw a shadow on the earth,<br />

and in the pale light of the shadow we put together<br />

a house.”—wrote Junichiro Tanizaki, a renowned<br />

Japanese author in 1933 in the classic book on<br />

Japanese aesthetics In Praise of Shadows. In this<br />

famous essay, Tanizaki observes traditional Japanese<br />

values through everyday things: hotel rooms, toilets,<br />

lighting, tableware, food and so on. Tanizaki was<br />

not an architect. But his observation provides a<br />

fresh eye for architects to look at architecture.<br />

This introduction quote reminds us that perhaps,<br />

it all started with a roof. Roof gives rise to and<br />

prescribes everything that follows. Without a roof<br />

mediating between us and the sun, there will be<br />

no shadows on the earth and no life underneath.<br />

Tanizaki also makes a note comparing Japanese<br />

aesthetics to that of the Western. For instance,<br />

he talks about the roofs of Gothic cathedrals and<br />

Japanese temples. Tanizaki says the ‘special beauty’<br />

of the Gothic cathedral lies in the tall, pointed roof,<br />

with its top ‘as high in the heavens as possible’. On<br />

the contrary, the striking characteristic of Japanese<br />

temples is the heavy roof with eaves that create<br />

‘deep, spacious’ shadows.<br />

This reminds us that the design of the roof carries<br />

great significance. We yearn for heaven. And<br />

so Gothic cathedrals favour high pointed roof to<br />

mediate between us and heaven. We seek protection<br />

from the sun and diffused interior lighting.<br />

So, Japanese temples favour a roof with extended<br />

overhanging eaves.<br />

Roof is such an influential architectural element<br />

that can protect and, therefore, give life. Roof can<br />

even control the quality of space underneath. Roof<br />

is a true mediator—one that negotiates between<br />

existing conditions for the good of humankind. But<br />

if so, why does roof sometimes receive less priority<br />

in contemporary design? In this article, we shall<br />

look back in history to celebrate the values of roof<br />

and look beyond to the new developments and<br />

what the future may bring.<br />

Between us and the climate<br />

Among his observation, Tanizaki points out that<br />

"if the roof of a Japanese house is a parasol, the<br />

roof of a Western house is no more than a cap".<br />

He further elaborates that this is because the roof<br />

of the Western house is built to shelter from the<br />

wind and dew but maximises the amount of sun<br />

reaching the interior. The roof of the Japanese<br />

อีกทั้งเพิ่มปริมาณแสงแดดให้สามารถส่องถึงพื้นที่ภายใน<br />

ในทางกลับกัน หลังคาของบ้านญี่ปุ่นมีชายคายื่นยาวออกไป<br />

เพื่อป้องกันแสงแดดและเพื่อให้ร่มเงาแก่พื้นที่ภายใน<br />

อันที่จริงแล้ว เราสามารถทราบถึงสภาพอากาศของภูมิภาคใด<br />

ภูมิภาคหนึ่งได้จากการออกแบบหลังคาของสถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นในพื้นที่นั้นๆ หลังคาจั่วสูงชันสำ าหรับเอเชียตะวันออก-<br />

เฉียงใต้นั้นเป็นองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่ยอดเยี่ยม<br />

สำาหรับกำาบังฝนที่ตกหนักและป้องกันแสงแดด ส่วนชายคา<br />

ที่ยื่นออกมาหนาทึบของญี่ปุ่นนั้นก็ยอดเยี่ยมสำ าหรับกำาบัง<br />

แสงแดดในฤดูร้อนและหิมะในฤดูหนาว<br />

หลังคาของ Naoshima Hall ใน Honmura โดย Hiroshi<br />

Sambuichi มีชายคายื่นออกมาไกล กลุ่มอาคารประกอบ<br />

ด้วยอาคารสองหลัง คือศูนย์ชุมชน และห้องโถงที่เป็นทั้ง<br />

โรงยิม รวมถึงโรงละครหุ่นกระบอก เมื่อมองแวบแรก<br />

อาคารทั้งสองหลังจะดูคล้ายกับหลังคาปั้นหยาผสมกับ<br />

หลังคาจั่วซึ่งเป็นหลังคาในรูปแบบดั้งเดิมของภูมิภาคนี้<br />

หากแต่หลังคานี้ได้มีการดัดแปลงเล็กน้อย<br />

house, on the other hand, has deep overhanging<br />

eaves to keep off the sun; and to keep the interior<br />

in shadows.<br />

Indeed, we can get a clue about the climate of a<br />

particular region from the design of the roof of its<br />

vernacular architecture. The steep gabled roof for<br />

Southeast Asia is great for sheltering from heavy<br />

rain and sun, and the thick overhanging eave of<br />

Japan is great for sheltering the hot summer sun<br />

and winter snow.<br />

The roof of Naoshima Hall in Honmura by Hiroshi<br />

Sambuichi features a typical deep overhanging<br />

eave. The complex consists of two buildings: the<br />

community centre and the hall that doubles as a<br />

gymnasium and a puppet theatre. At first glance,<br />

the two buildings resemble the traditional hip-andgable<br />

roof of the region. But there is a twist.<br />

Photo Credit: Sambuichi Architects / Downloaded from dezeen.com<br />

2<br />

02<br />

อาคารหลังใหญ่<br />

ของ Naoshima Hall

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!