10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บทที่5การวิเคราะห์ด้านตะกอนวิทยาและซากดึกดำบรรพ์5.1 การวิเคราะห์ด้านตะกอนวิทยาภาวะแวดล้อมการสะสมตัวของกลุ่มหินแก่งกระจานตะกอนวิทยา(Sedimentology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับหินชั้นและกระบวนการสะสมตัวของหิน ที่ผ่านมามีการศึกษาทางตะกอนวิทยาของกลุ่มหินแก่งกระจานที่เป็นระบบกันน้อย ทั้งๆ ที่การแปลความหมายทางด้านการสะสมตัวของหินจำต้องอาศัยการศึกษาทาง Facies ของหิน จึงเป็นที่มาของความไม่ลงตัวในการแปลความหมายของผลงานที่ทำมาก่อน5.1.1 Facies ของกลุ่มหินแก่งกระจานFacies ตามพจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยาหมายถึงรูปร่าง สภาพ หรือลักษณะที่เด่นซึ่งแสดงให้เห็นถึงสภาวะการกำเนิด หรือส่วนประกอบจำเพาะของหินนั้นๆคำนิยาม: Diamictite ตาม Glossary ofGeology (Bates and Jackson, 1987) เป็นชื่อหินเสนอโดย Flint <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1960) เป็นชื่อในเชิงอธิบาย (descriptive name หรือ nongen<strong>et</strong>ic term) ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับการกำเนิด หมายรวมถึงหินตะกอนที่ไม่มีการคัดขนาด (poorly sorted) ประกอบด้วยเม็ดตะกอนขนาดแตกต่างกันมาก เช่น หินโคลนที่มีตะกอนขนาดเม็ดกรวดขนาดใหญ่และเม็ดทรายปนอยู่ด้วย ส่วนPebbly mudstone (เสนอชื่อโดย Crowell, 1957) เป็นชื่อ descriptive name เช่นเดียวกัน หมายถึงหินโคลนปนกรวดที่ไม่มีการคัดขนาด และกรวดส่วนใหญ่มีขนาดPebble (4-64 มม.) สำหรับ pebbly sandstone เป็นชื่อdescriptive name หมายถึงหินทรายที่มีกรวดขนาดpebble ประมาณ 10-20% ส่วนคำว่า Tillite นั้นเป็นgen<strong>et</strong>ic name หมายถึงตะกอนที่เกิดจากธารน้ำแข็งเป็นชื่อที่บ่งถึงการกำเนิดจึงไม่เป็นชื่อที่นิยมใช้ตามมาตรฐานสากล ส่วนคำว่า pebbly mudstone, pebblysandstone และ pebbly rock นั้นเป็นชื่อในเชิงอธิบายได้ใช้กันอย่างแพร่หลายและเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในประเทศไทยและจีน และสอดคล้องกับลักษณะของเนื้อหินที่ปรากฏอยู่ ดังนั้นในรายงานฉบับนี้จึงใช้คำ pebblymudstone, pebbly sandstone และ pebbly rockรายงานฉบับนี้ ได้แบ่ง Lithofacies ของกลุ่มหินแก่งกระจานออกเป็น 9 facies และได้ทำการเทียบเคียงกับการแบ่งที่มีการศึกษามาก่อนด้วย โดยได้ใช้การแบ่ง Facies ของทั้ง Mitchell (1970), Grason<strong>et</strong> <strong>al</strong>.(1975), Altermann (1987) และ Hills (1989) เป็นแนวทางด้วย ดังแสดงไว้ในตารางที่ 5.1 Lithofaciesของกลุ่มหินแก่งกระจานมีดังนี้ 1) Thin bedded sandstones andmudstones facies ประกอบด้วยหินทราย เนื้อละเอียดถึงปานกลาง เป็นชั้นบาง ส่วนใหญ่แต่ละชั้นมีความหนาน้อยกว่า 10 ซม. บางชั้นอาจหนา 30 ซม. หรือมากว่า

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!