10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

60บทที่ 4การคัดขนาดไม่ดี มีกรวดประมาณ 5-10% ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กกว่า 1 ซม. และพบกรวดของควอตไซต์ขนาด6x8 ซม. ด้วย ชั้นหินถูกปิดทับด้วยหินทรายหนา 4 เมตรเนื้อละเอียดปานกลางถึงหยาบ เป็นชั้นหนาปานกลางถึงหนา และเปลี่ยนขึ้นไปเป็นหินโคลน เนื้อแน่น (massive) หนาประมาณ 3 เมตร บนขึ้นไปปริมาณหินทรายที่แทรกสลับจะเพิ่มขึ้น โดยในส่วนล่างหนาประมาณ 10 เมตร เป็นหินทราย เนื้อละเอียด เป็นชั้นบาง (5-10 ซม.) (รูปที่ 4.32) เอียงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (67/032) พบโครงสร้าง cross laminationส่วนในหินโคลนที่แทรกสลับมักพบ burrows (รูปที่ 4.33)ในส่วนบนเป็นหินทราย ชั้นหนาปานกลางถึงหนา มีความหนา 7 เมตร บนขึ้นไปพบ deposition<strong>al</strong>sequence ของหินกรวดมนเปลี่ยนขึ้นไปเป็นหินทรายและหินโคลน จำนวน 3 ช่วง (รูปที่ 4.34) ด้วยกัน มีความหนา ช่วงละ 60 ซม. 30 ซม. และ มากกว่า 60 ซม.ตามลำดับ โดยช่วงบนสุดจะเปลี่ยนขึ้นไปเป็นหินโคลนเนื้อแน่นหนา 8 เมตร และพบ burrows ทั่วไป บนขึ้นไปเป็นหินทราย สีเทาอมเขียว หนา 3 เมตร เป็นชั้นหนาปานกลาง เปลี่ยนขึ้นไปเป็นหินโคลนหนา 4 เมตร และยังพบ burrows ได้ทั่วไป บนขึ้นไปหินเปลี่ยนเป็นหินโคลนปนกรวด หนาประมาณ 20 เมตร มีสีเทาอมเขียวผิวแตกเป็นกาบ เป็นหินโคลนปนกรวดหรือ Pebblyrock (รูปที่ 4.35) ที่เหมือนกับต้นฉบับที่ภูเก็ต มีแนวcleavage เด่นในแนว 49/240 มีกรวดปนประมาณ 5-10 % ส่วนใหญ่มีความมนดี มีขนาดเล็กกว่า 1 ซม.แต่บางก้อนโตกว่า 3 ซม. กรวดที่พบมากเป็นพวกควอตไซต์ แกรนิต และหินทราย รูปที่ 4.31 แท่งลำดับชั้นหิน กลุ่มหินแก่งกระจาน ที่บ่อลูกรัง กม. 6.2 ทางหลวงหมายเลข3349Revised Lithostratigraphy of the Kaeng Krachan Group

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!