10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

102บทที่ 55.1.4 P<strong>al</strong>eoflow ของกลุ่มหินแก่งกระจานที่ผ่านมา มีการแปลทิศทางการไหลของP<strong>al</strong>eoflow ของกลุ่มหินแก่งกระจานที่ยังขัดแย้งกันแยกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เชื่อว่ามีการเกิดแบบ debrisflow อย่างเดียว ให้กระแสน้ำโบราณไปทางด้านตะวันตก(ทิศปัจจุบัน) เช่น Garson <strong>et</strong> <strong>al</strong>.(1975) เชื่อว่าฝั่งทะเลตื้นอยู่ทางด้านตะวันออกและทะเลลึกไปทางด้านตะวันตก และ Altermann(1986) จากการวัดค่าCurrent ripple, Slumps และ Imbrication (ทั้งหมด16 ค่า) บริเวณเกาะภูเก็ตให้กระแสน้ำโบราณหลักไหลจาก SE ไป NW และกลุ่มที่เชื่อว่าเกิดแบบGlaciomarine ให้กระแสน้ำโบราณไปทางด้านตะวันออก (ทิศปัจจุบัน) เช่น Hills(1989) ศึกษาจากcross bedding, slumped structure, flute cast,imbrication structure, intraformation<strong>al</strong> folding,rafted sediments ให้กระแสน้ำไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ (114 ํE) และ Ampaiwan <strong>et</strong> <strong>al</strong>.(2004) ให้ผลที่สอดคล้องกันคือกระแสน้ำในส่วนล่างของกลุ่มหินแก่งกระจาน (Pebbly rocks) ไหลไปทางทิศตะวันออก แต่ส่วนบนของกลุ่มหินมีฝั่งทะเลอยู่ทางด้านตะวันออก จากการตรวจสอบในครั้งนี้ พบว่ากลุ่มหินแก่งกระจานมีโครงสร้างชั้นหินที่ใช้สำหรับแปลการไหลของกระแสน้ำโบราณน้อย ที่พบบ้างได้แก่ Crossstratification ส่วนการแปลผลโดยใช้ slumpedstructure, flute cast, Fabric orientation,intraformation<strong>al</strong> folding, rafted sediments นั้น พึงใช้ด้วยความระมัดระวัง การศึกษาครั้งนี้ไม่พบโครงสร้างflute cast แต่พบโครงสร้างแบบ Mullion structureหลายแห่ง (รูปที่ 4.46 และ 4.58) ซึ่งมีรูปร่างคล้ายกันและการใช้ Fabric orientation ของก้อนกรวดนั้น ส่วนใหญ่จะใช้ในหินกรวดมนที่มีการคัดขนาดและกรวดมีรูปร่างแบนยาวและใหญ่ ซึ่งลักษณะดังกล่าวไม่พบในกลุ่มหินแก่งกระจาน การศึกษาครั้งนี้ข้อมูลที่ได้ให้ค่ากระจายไม่เพียงพอต่อการสรุปผล ในเบื้องต้นนี้ดูเหมือนว่าภาพรวมไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ/เหนือ จากการวัด Cross stratification ซึ่งพบบ้างในบางบริเวณ พบว่าในหมวดหินแหลมไม้ไผ่ ที่แหลมตุ๊กแกและอ่าวพันวา ให้ทิศทางกระแสน้ำโบราณไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ (133 ํ) และทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (330 ํ) ตามลำดับ หมวดหินสปิลเวย์ที่แหลมทาบให้ทิศทางกระแสน้ำโบราณ 2 แนวคือ ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ (328 ํ) และตะวันออกเฉียงเหนือ (046 ํ) ซึ่งก็สอดคล้องกับที่พบในหมวดหินเขาพระที่วางตัวอยู่ด้านบน ซึ่งให้ทิศกระแสน้ำโบราณไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ (046 ํ) สำหรับหมวดหินเขาเจ้า ที่แหลมทาบให้ทิศทางที่สอดคล้องกับหมวดหินสปิลเวย์ คือไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ (330 ํ) และหมวดหินเขาเจ้าที่เขาตาม่องล่าย ให้ทิศกระแสน้ำโบราณเป็นมุมกว้าง จากตะวันออกเฉียงเหนือถึงทิศใต้5.1.5 Trace fossils ของกลุ่มหินแก่งกระจานTrace fossils เป็นร่องรอยของสิ่งมีชีวิตในหินตะกอน ใช้เป็นหลักฐานที่สำคัญด้านสภาพแวดล้อมของการสะสมตัว โดยปกติเมื่อสัตว์ชอนไชลงไปในตะกอนก็มักจะขับสารมาสมานผนังให้คงรูป ซึ่งทำให้รูคงรูปร่างอยู่ได้ ชนิดของ trace fossils ไม่ได้แปรเปลี่ยนโดยตรงกับความลึกของน้ำ แต่ขึ้นกับความแรงของคลื่นและกระแสน้ำ ในสภาวะ high energy environmentเช่น above fair-weather wave base ส่วนใหญ่จะพบvertic<strong>al</strong> และ U-shaped burrows ทั้งนี้เนื่องจากบริเวณที่มีกระแสน้ำไหลแรงจะทำให้สัตว์คลานตามพื้นได้ลำบาก หินที่พบก็มักเป็นพวกทรายเนื้อสะอาดหรือมีโคลนน้อย พวกนี้อยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า Skolithosichnofacies (Pemberton <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992) ในช่วงของNeritic zone ซึ่งอยู่ใต้ fair-weather wave base แต่อยู่เหนือ Storm wave base หรือใน Protectedenvironment เช่น subtid<strong>al</strong> environment จะพบ tracefossil แบบที่มีแนวขนานชั้นหินมากกว่าพวกที่มีแนวตั้งตรง พวกนี้หาอาหารพวกสาหร่ายเขียวที่อยู่ตามพื้นพวกนี้อยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า Cruziana ichnofacies Revised Lithostratigraphy of the Kaeng Krachan Group

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!