10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การศึกษาข้อมูลและผลงานศึกษาวิจัยที่มีมาก่อน 11ในส่วนล่างของหมวดหินซึ่งพบบริเวณฝั่งตะวันออกของเกาะยาวน้อย ประกอบด้วยหินโคลน เกิดเป็นชั้นบางๆ สีเทาเข้ม สลับกับหินทรายเนื้อขนาดปานกลาง ไม่พบซากดึกดำบรรพ์ พบลักษณะ load castsและ flute casts ลักษณะเด่นของหินหน่วยนี้คือ พบหินปูนเนื้อดินเป็นกระเปาะและไม่มีหินโคลนเนื้อปนกรวด สำหรับส่วนบนเป็นหินทรายสลับกับหินโคลนเกิดเป็นชั้นบาง บริเวณแหลมไทรใต้สุดของเกาะยาวน้อย หินที่อยู่บนสุดของหมวดหิน เป็นหินทรายเนื้อทัฟฟ์สลับกับหินทัฟฟ์ ซึ่งเปลี่ยนเป็นหินเชิร์ตในตอนบน หินทรายเนื้อทัฟฟ์ประกอบด้วย เม็ดทรายขนาดเม็ดละเอียดถึงปานกลาง และมีแร่เฟลด์สปาร์ เป็นส่วนประกอบร้อยละ50 ในชั้นหินทรายเนื้อทัฟฟ์นี้พบซากดึกดำบรรพ์brachiopod มากมาย เป็นพวก Spinomartiniaprolifica ซาก ดึกดำบรรพ์พวกนี้จะพบน้อยลงในช่วงล่างของหมวดหิน ความหนาของหินทรายเนื้อทัฟฟ์หนาประมาณ 80-100 เมตร ชั้นหินพวกนี้เทียบเคียงได้ กับที่อ่าวนาง เขาพนมเบญจา จังหวัดกระบี่ เขาถ่าน อำเภอสวี จังหวัดชุมพรรูปที่ 2.2 แสดงการแบ่งลำดับชั้นหินของกลุ่มหินภูเก็ต บริเวณภูเก็ต-พังงา (Pitakpaivan and Mantajit, 1981)ลำดับชั้นหินของกลุ่มหินแก่งกระจาน: ปรับปรุงใหม่

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!