10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ลำดับชั้นหินที่อยู่ใต้กลุ่มหินแก่งกระจาน33ในชั้นนี้ สรุปได้ว่าซากดึกดำบรรพ์ที่เคยพบมาทั้งหมดในภาคใต้ ไม่เคยมีอายุ Upper Carboniferousหลักฐานที่ทำให้เชื่อว่ากลุ่มหินแก่งกระจานมีอายุเริ่มต้นที่ Lower Permian ได้รับข้อมูลสนับสนุนจากการตรวจวิจัยซากดึกดำบรรพ์ ในรายงานเผยแพร่หลังปี 2523 เช่น Waterhouse (1982), Shi andWaterhouse (1991) และ Shi and Archbold (1995) ที่พบ cold-water brachiopods อายุ Late Asselian orEarly Sakmarian ในหิน pebbly mudstone ในส่วนบนของกลุ่มหินแก่งกระจานที่เกาะมุก เกาะพีพี ส่วนชั้นหินที่วางตัวบน pebbly mudstone ที่เกาะยาวน้อย ก็พบBrachiopods (Waterhouse, 1981) ได้อายุ earlyPermian(Sakmarian) ซึ่งสอดคล้องกับรายงานของ Shi<strong>et</strong> <strong>al</strong>.(1997) ที่พบ brachiopod จากส่วนบนของ SingaFormation ที่เกาะลังกาวี ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเทียบได้กับเกาะยาวน้อย และให้อายุ Early Permian เช่นเดียวกัน Shi <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (2001) พบ Brachiopod ในหินทรายสีขาวของหมวดหินเขาพระ ที่ชุมพร ส่วนใหญ่เป็นพวกMeekella bisculpta Grant ส่วนน้อยเป็นพวกCostatumulus sp. ให้อายุ Early Permian (Sakmarian)จึงสรุปได้ว่ากลุ่มหินแก่งกระจานควรมีอายุเริ่มต้นที่Early Permian คำถามที่ตามมา คือ เกิดอะไรขึ้นในช่วง UpperCarboniferous ทำไมถึงไม่เคยพบซากดึกดำบรรพ์อายุดังกล่าวในประเทศไทย ทั้งๆ ที่มีการสำรวจในรายละเอียดกันอย่างกว้างขวางในพื้นที่ดังกล่าวและลำดับชั้นหินช่วง Lower carboniferous และ Permian มีความต่อเนื่องหรือไม่คำถามของหัวข้อนี้มีความหมายต่อการแปลธรณีประวัติของประเทศไทย ข้อมูลในปัจจุบันส่วนใหญ่ให้ลำดับชั้นหินมีความต่อเนื่องกันขึ้นไป (Lumjuan,1993; กรมทรัพยากรธรณี, 2544) แต่อย่างไรก็ตามเมื่อทำการตรวจสอบในภาคสนามแล้ว ยังไม่เคยพบว่ามีบริเวณใดที่มีลำดับชั้นหินของ Lower Carboniferousต่อเนื่องขึ้นไปหาชั้นหินของ Lower Permian รวมทั้งพื้นที่ท้องที่อำเภอขนอม (อภิชาต ลำจวน- สอบถามส่วนตัว)ทั้งๆ ที่ในภาคใต้มีการพบซากดึกดำบรรพ์มากมายหลายบริเวณที่มีอายุ Lower Carboniferous, Lower Permianจนถึง Upper Permian แต่ยังไม่เคยพบซากดึกดำบรรพ์ของ Upper Carboniferous สำหรับซากดึกดำบรรพ์ อายุLower Carboniferous พบอยู่หลายบริเวณส่วนใหญ่เป็นหอยพวก Posidonomya sp. เช่นพบในหมวดหินควนกลาง ของจังหวัดสตูล และพบอีกที่ขนอม และบริเวณชายแดนไทย-มาเลเซีย ส่วนซากดึกดำบรรพ์อายุLower Permian นั้นพบอยู่มากมายหลายบริเวณในภาคตะวันตกและภาคใต้ โดยพบทั้ง Cor<strong>al</strong>s, Brachiopods,Bryozoa มีหลายบริเวณที่ปัจจุบันกรมทรัพยากรธรณีได้รับการร้องขอให้สนับสนุนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เช่น การพบ Brachiopods และ bryozoa ที่เขาวังกระแจะจังหวัดกาญจนบุรี และที่เขาพนม จังหวัดกระบี่ข้อมูลที่สนับสนุนการเกิด Late Carboniferoushiatus หรือช่วงที่ขาดหายไปของชั้นหินในบริเวณ Shan-Thai terrane ของคาบสมุทรไทยประกอบด้วย เช่น1) ไม่มีหลักฐานว่ากลุ่มหินแก่งกระจานซึ่งมีอายุเริ่มต้นที่ Lower Permian ว่าวางตัวอยู่บนหินอะไร (รวมทั้งที่เกาะลังกาวี และที่ Baoshan block)2) ไม่มีลำดับชั้นหินในคาบสมุทรไทยที่แสดงความต่อเนื่องจาก Lower carboniferous ถึง LowerPermian3) ไม่พบซากดึกดำบรรพ์อายุ UpperCarboniferous ใน Shan-Thai terrane ของคาบสมุทรไทย4) ธรณีวิทยาของคาบสมุทรไทย (Shan-Thai terrane) เทียบเคียงได้กับของ Baoshan block ที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมณฑลยูนนานประเทศจีนซึ่งพบว่าเกิด Late Carboniferous hiatus ด้วยลำดับชั้นหินของกลุ่มหินแก่งกระจาน: ปรับปรุงใหม่

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!