10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

140บทที่ 6ที่ Dadongchang section, Tengchongblock พิกัด N25 ํ 29 ํ 01 ํ E098 ํ 34 ํ 52 ํ (หมายเลข 1 รูปที่ 6.1) บริเวณนี้มีเหมืองตะกั่ว สังกะสี เป็น Typesection ของ Dadongchang Formation (รูปที่ 6.4ก-ข) ในส่วนล่างเป็นหินปูน (ส่วนใหญ่เป็น skel<strong>et</strong><strong>al</strong>wackestone) หนามากกว่า 50 เมตร เป็นชั้นหนาถึงมวลหนา บางช่วงมี Bryozoa, solitary cor<strong>al</strong>s, Sinopora sp.(รูปที่ 6.4ค) บนขึ้นมาบางช่วงแทรกสลับด้วยโดโลไมต์ สีเทา ชั้นหนาประมาณ 20 เมตร มีลักษณะผิวแบบหนังช้างเห็นได้บ้าง และเปลี่ยนขึ้นไปเป็นหินปูนwackestone และ lime-mudstone หนามากกว่า 20เมตร เป็นชั้นหนาปานกลางถึงหนา ลำดับชั้นหินยังมีหินปูนต่อเนื่องขึ้นไปอีกแต่ในครั้งนี้ไม่ได้ทำการสำรวจ มีหินก้อนใหญ่หล่นอยู่ข้างทางลูกรังพบมี Fusulinids ซึ่งProf. Wang บอกว่าอาจเป็น Eopolydiexodina sp.,Yangchienia sp. อายุ middle Permian ซึ่งก็พบที่เขาพุเลียบ กาญจนบุรีด้วยที่ Leilishan section, Tengchong block พิกัดN24 ํ 55 ํ 12.1 ํ E098 ํ 17 ํ 06.7 ํ (หมายเลข 2 รูปที่ 6.1)บริเวณนี้เป็นเหมืองดีบุก ทำแบบเหมืองอุโมงค์และเหมืองเปิด ที่บริเวณลำห้วยข้างเหมือง (รูปที่ 6.4ง) เป็นลำดับชั้นหินของ Kongshuhe Formation หนามากกว่า 30 เมตรชั้นหินถูก m<strong>et</strong>amorphosed ด้วย ส่วนล่างบริเวณลำห้วยเป็นพวก pebbly mudstone สีเทา เนื้อแน่น มีกรวดประมาณ 2-3% ส่วนใหญ่ขนาดเล็กกว่า 1 ซม. แต่บางก้อน 2-3 ซม. (รูปที่ 6.4จ) ในส่วนบนเป็นพวกหินทรายสลับหินโคลน (รูปที่ 6.4ฉ) เทียบเคียงความเหมือน1. ลำดับชั้นหินมี Hiatus ขนาบอยู่ทั้งด้านล่างและด้านบนเหมือนกัน โดยที่ Baoshan block มีรอยชั้นไม่ต่อเนื่อง(hiatus) คั่นระหว่างชั้นหินยุค lowerCarboniferous กับชั้นหินยุคเพอร์เมียน และที่Tengchong block มี hiatus อยู่ระหว่าง lowerCarboniferous กับ Upper Carboniferous (Shen <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,2000; Wang <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001b; Jin, 2002) สำหรับในประเทศไทย ผลจากงานวิจัยครั้งนี้พบในลักษณะที่คล้ายกัน จึงได้เสนอ Late Carboniferous hiatus ไว้ในลำดับชั้นหินของคาบสมุทรไทย (พล เชาว์ดำรงค์, 2546, รายละเอียดดูในบทที่ 3) สำหรับ Upper contact ของชั้นหินเพอร์เมียนที่ประเทศไทย กลุ่มหินราชบุรี (อายุ Middle Permian tomiddle Upper Permian) ถูกปิดทับแบบมีรอยชั้นไม่ต่อเนื่องด้วยหินทรายมหายุคมีโซโซอิก และหินปูนยุคไทรแอสซิกตอนต้น (กรมทรัพยากรธรณี, 2544 หน้า 152) ในทำนองเดียวกันชั้นหินเพอร์เมียนที่ Baoshan และTengchong blocks ก็ถูกปิดทับแบบมีรอยชั้นไม่ต่อเนื่องด้วยหินปูนยุคไทรแอสซิก (Jin, 2002) หลักฐานดังกล่าวบ่งถึงการเกิด Region<strong>al</strong> uplift และ Erosion ของภูมิภาคนี้ในอดีตในช่วงประมาณ Middle to LateCarboniferous และ Late PermianRevised Lithostratigraphy of the Kaeng Krachan Group

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!