10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การศึกษาข้อมูลและผลงานศึกษาวิจัยที่มีมาก่อน 15Brown <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1951) พบซากดึกดำบรรพ์พวกEophyton ที่บริเวณอ่าวทุ่งคา ให้อายุแคมเบรียน แต่ต่อมาเป็นที่ยอมรับว่าสิ่งที่เรียกว่า Eophyton นั้น เป็นเพียงรอยของสาหร่ายทำให้การวิเคราะห์ผิดพลาดYanagida (1970) ศึกษา brachiopods ที่เขาพริก จังหวัดราชบุรี พบว่ามีซากดึกดำบรรพ์มากมายหลายชนิด เช่น Brachiopods, bryozoans, cor<strong>al</strong>s,fusulininans, pelecypods, gastropods และได้ศึกษาbrachiopods พบว่ามีหลายชนิดที่สำคัญ เช่นSpiriferellina cristata (Schlotheim), Spiriferellinamultiplicata (Sowerby), Hemiptychina him<strong>al</strong>ayensis(Davidson), Notothyris nucleola (Kutorga) ซึ่งพบทั่วไปในยุโรบและเอเซีย และมีความสัมพันธ์เทียบเคียงได้กับ Productus limestone ของ S<strong>al</strong>t Range สรุปให้อายุเป็น Late ArtinskianMitchell <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1970) พบ Trilobite พวกCyrtosymbol sp. ที่บริเวณบ้านทุ่งคาโงก ตามทางหลวงสายตะกั่วป่า-พังงา บ่งอายุดีโวเนียนตอนปลายWaterhouse (1982) รายงานว่าหิน pebblymudstone ในส่วนบนของกลุ่มหินแก่งกระจาน ที่เกาะมุกเกาะพีพี (รูปที่ 2.5) พบ brachiopods หลายชนิดที่สะสมตัวในอุณหภูมิหนาวเย็นแบบ temperate แถบใกล้ขั้วโลกเช่น Arctitr<strong>et</strong>a percostata, Komukia solita,Cancrinelloides monticulus, Rhynchopora sp.,Arionthia sapa, Elasmata r<strong>et</strong>usus ต่อมา Shi andWaterhouse (1991), Shi and Archbold (1995) ศึกษาเพิ่มเติมได้ให้อายุเป็น Late Asselian or EarlySakmarian ส่วนชั้นหินที่วางตัวบน pebbly mudstone ที่เกาะยาวน้อย ในภาคใต้ ก็พบ Brachiopods (Waterhouse, 1981) ได้อายุ early Permian (Sakmarian) โดยพบ species ใหม่ด้วย เช่น Orthot<strong>et</strong>esperplexus, Tornquistia tricorporum, Costachon<strong>et</strong>inakrotowi, Chon<strong>et</strong>inella andamanensis, Chon<strong>et</strong>inellagranti เลิศสิน รักษาสกุลวงศ์ และธนิศร์ วงศ์วานิช (2536) รายงานพบซากดึกดำบรรพ์ในหมวดหินขนอม (Kanom formation) ที่บริเวณบ้านคลองวัง อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพวก Styliolina sp.,Tentaculite sp., และ Pelecypod จำพวกPosidonomya sp., Nuculoidae sp., Trilobiteจำพวก Cyrtosymbolid sp. ให้อายุ Middle to LateDevonian สำหรับกลุ่มหินแก่งกระจานจะวางตัวอย่างมีรอยชั้นไม่ต่อเนื่องอยู่บนหมวดหินขนอม พร้อมรายงานการพบ brachiopod พวก Spirifer และ spiromartinia แต่รูปร่างไม่สมบูรณ์ ในหมวดหินสปิลเวย์ที่แหลมไม่ไผ่จังหวัดภูเก็ต (พิกัด 439871) คาดว่ามีอายุ EarlyCarboniferous- Early PermianLumjuan (1993) ศึกษาลำดับชั้นหินCarboniferous-Permian บริเวณแหลมทาบ และเขาสีอินทางตอนเหนือของจังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่าวางตัวอย่างต่อเนื่องอยู่บนหิน Devonian และ เปลี่ยนขึ้นไปหาหิน Permian ชั้นหินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนล่างที่เขาสีอินเป็นการสลับกันของหิน ดินดานและหินทรายพบซากดึกดำบรรพ์อายุ Early Carboniferous หลายชนิด เช่น Posidonomya sp., Chon<strong>et</strong>es sp.,Bucanella sp., Pro<strong>et</strong>us sp., Pecten sp. และบนขึ้นไปมีชั้นของ gypsum และ anhydrite สลับอยู่ ชั้นหินในส่วนบนที่แหลมทาบวางตัวต่อเนื่องขึ้นมาประกอบด้วยหินโคลนปนกรวด (pebbly mudstone) (ซึ่งเลิศสินรักษาสกุลวงศ์ และธนิศร์ วงศ์วานิช (2536) บอกว่าไม่ต่อเนื่อง และจากการตรวจสอบของรายงานฉบับนี้พบว่าทั้ง 2 บริเวณอยู่ห่างกันหลายกิโลเมตร และไม่พบความต่อเนื่องของลำดับชั้นหินดังกล่าว) และมีชั้นของหินทรายและหินดินดานแทรกสลับ พบซากดึกดำบรรพ์ อายุ LateCarboniferous to Early Permian เช่น Linoproductussp., Ruggiscostella sp., Neochon<strong>et</strong>es sp.,Kitakamithyris sp., Rhynchonellacean sp.,S<strong>et</strong>igenites sp. ลำดับชั้นหินส่วนบนนี้เทียบเคียงได้กับกลุ่มหินแก่งกระจาน ที่ภูเก็ต ลำดับชั้นหินของกลุ่มหินแก่งกระจาน: ปรับปรุงใหม่

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!