10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วิวัฒนาการของกลุ่มหินแก่งกระจาน153Cruziana ichnofacies มากมายรวมทั้งลักษณะเป็นชั้นดีของ Laminated mudstones แสดงว่าสะสมตัวในส่วน Outer shelf 5) Bas<strong>al</strong>t นอกจากพบแทรกสลับที่ Baoshanblock ยังพบที่ Him<strong>al</strong>ayan region และที่ Lhasablock (Jin, 2002) Bas<strong>al</strong>t ที่ Baoshan วางตัวบนDingjiazhai Formation ซึ่งพบ Fusulinids:Pseudofusulina sp., Eoparafusulina sp. และConodonts: Swe<strong>et</strong>ognathus bucaramangus เป็นindex fossil ของ Early Sakmarian แสดงว่า eruptionคงเกิดประมาณช่วง Sakmarian (Lower Permian)6) ช่วง Sakmarian-Artinskian มีการยกตัวของแผ่นดินของ Shan-Thai terrane, Baoshan blockและ Tengchong block กลายเป็นทะเลตื้นให้การสะสมตัวของหมวดหินสปิลเวย์ หมวดหินเขาพระDingjiazhai Formation และ Kongshuhe Formation7) ช่วง Late Artinskian to Kungurian ยังคงสภาพเป็นทะเลตื้น พบ Brachiopods ตัวเล็กพวกMeekella bisculpta ในหมวดหินเขาพระ ที่จังหวัดชุมพร8) ช่วง Wordian (Middle Permian) ทั้งShan-Thai terrane และ baoshan block ยังอยู่ในสภาพแวดล้อมของ warm-temperate area ระหว่างCathaysia กับ Gondwana (Shi and Shen, 2001;Wang <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001a) มีข้อมูลสนับสนุนการแปลผลดังกล่าวคือพบ massive cor<strong>al</strong> เช่น Wentzellophylumและ brachiopod Cryptospirifer omeishanensisHuang, Pseudoantiquatonia mutabilis ในส่วนล่างของ Shazipo Formation และพบ Brachiopods ในส่วนล่างของ Daaozi Formation เช่น Spinomarginifera sp.,Squamularia sp. และ Cryptospirifer sp. ซึ่งเป็น indexfossils ที่แสดงถึงการเปลี่ยนสภาพจาก warm-waterCathaysia ไปหา temperate Peri-GondwanaenvironmentsStereochia และ Waagenites ซึ่งเป็นหลักฐานที่ดีถึงสภาพอากาศแบบ Peri-Gondwanaสำหรับ Stereochia (Grant (1976) ให้อายุ LateArtinskian แต่ Prof. Dr. Shuzhong Shen แย้งว่าปัจจุบันอายุเปลี่ยนเป็น Wordian) พบในกลุ่มหินราชบุรีที่บ้านเก่า เขาแก้วน้อย กาญจนบุรี ที่เกาะมุก และพบที่Irian Jaya อินโดนีเซีย ส่วน Waagenites พบในYongde Formation ที่ Xiaoxinzhai section (หมายเลข10 รูปที่ 6.1) West Yunnan และ the S<strong>al</strong>t Range(Grant, 1976; Shen <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2002) 9) ช่วง Middle Permian (Wordian) - LatePermian (Dzhulfian) ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นทะเลตื้นที่กว้างใหญ่ (Epeiric carbonate platform) ครอบคลุมShan-Thai terrane, Baoshan block และ Tengchongblock และให้การสะสมตัวของหินปูนในช่วงดังกล่าว Shan-Thai terrane ยังอยู่ห่างจาก Indochina terrane เพราะบริเวณคาบสมุทรไทยไม่พบปะการังพวก Ipciphyllum, Pseudohuangia,Chihsiaphyllum, Crassipari<strong>et</strong>iphyllum, Yatsengiaและ Kepingophyllum ส่วน Fusulinids ก็พบน้อยชนิด (low diversity) และไม่พบพวก Neoschwagerina,Verbeekina, Sumatrina, Afghanella, P<strong>al</strong>aeofusulinaซึ่งทั้งปะการังและ Fusulinids ดังกล่าวพบมากในIndochina terrane (Fontaine and Sute<strong>et</strong>horn,1988และ Fontaine <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1994b)10) ในช่วง late Middle Permian to middleLate Permian (Late Murgabian- Early Dzhulfian) จากการพบ tropic<strong>al</strong> foraminifer<strong>al</strong> fauna มากในหินปูนตอนบนของกลุ่มหินราชบุรี เช่น Shanita amosi (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อ 6.1.2) รวมทั้ง Shanita ก็พบในส่วนบนของ Daaozi Formation ของ Baoshan blockแสดงว่า Shan-Thai terrane และ Baoshan block ได้เคลื่อนตัวเข้ามาอยู่ในบริเวณเส้นละติจูดต่ำ แต่ในช่วงเวลาเดียวกันกลับพบว่าที่ Indochina terrane มี fusulineมากมายแต่ไม่พบ Shanita แสดงแผ่นเปลือกโลกShan-Thai และ Indochina ยังอยู่ห่างกัน (Dawson <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,1993a) หรืออีกนัยหนึ่งแสดงว่า P<strong>al</strong>eot<strong>et</strong>hys ที่กั้นระหว่าง Shan-Thai และ Indochina terranes ยังคงสภาพอยู่ และสนับสนุนการปิดของ P<strong>al</strong>eot<strong>et</strong>hys ในช่วงLate Triassic (Chaodumrong, 1992)ลำดับชั้นหินของกลุ่มหินแก่งกระจาน: ปรับปรุงใหม่

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!