10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การศึกษาข้อมูลและผลงานศึกษาวิจัยที่มีมาก่อน 7หินดินดาน สีเทา เป็นชั้นหนา มีกรวดของหินแกรนิตและหินควอร์ตไซต์ปนอยู่ในเนื้อหินดินดานบ้างเล็กน้อยและพบซากดึกดำบรรพ์แบรคิโอพอดพวก Spirifer sp.Piyasin (1975b) กำหนดให้หมวดหินห้วยพุน้อยมีอายุอยู่ในช่วงยุคดีโวเนียนตอนบน แต่จากข้อมูลในปัจจุบันพบว่าซากดึกดำบรรพ์ดังกล่าวน่าจะมีอายุเพอร์เมียน2) หมวดหินเขาพระ (Khao PhraFormation) ตั้งชื่อจากชื่อของเขาพระ ที่อยู่ห่างจากบ้านดอนทราย ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 5กิโลเมตร มีความหนาประมาณ 344-520 เมตรประกอบด้วยหินดินดาน สีเทาดำ หินทรายสีดำ เนื้อละเอียดถึงหยาบ การคัดขนาดไม่ดี เม็ดทรายมีลักษณะเม็ดเหลี่ยม ถึงเม็ดเหลี่ยมปานกลาง และหินดินดานเนื้อปนกรวด สีเทาดำ เม็ดกรวดมีลักษณะกลม เป็นพวกหินแกรนิต หินควอร์ตไซต์ หินทราย หินดินดาน และหินปูนในบริเวณส่วนล่างพบ Posidonomya sp. และส่วนบนของหมวดหินพบซากดึกดำบรรพ์แบรคิโอพอด Spirifer sp. และ bryozoa ซึ่งมีทั้ง Fenestella sp. และ Polyporasp. ให้อายุ Upper Carboniferous (Piyasin, 1975b) การสำรวจของรายงานฉบับนี้ไม่พบPosidonomya sp. ในพื้นที่เขาพระ ซึ่งซากดึกดำบรรพ์ดังกล่าวพบมากในภาคใต้และมีอายุ Early Carboniferousสำหรับ Spirifer sp. และ bryozoa นั้นอายุควรเป็น Early Permian ดังนั้นอายุของหมวดหินเขาพระจึงควรเปลี่ยนเป็น Early Permian ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Sawata <strong>et</strong>. <strong>al</strong>. (1975) ที่ได้ทำการศึกษารายละเอียดของชั้นหินบริเวณเขาพระ และสรุปว่าชั้นหินบริเวณนี้จาก Brachiopod และ bryozoa ให้มีอายุEarly Permian มีความหนาประมาณ 100 เมตร มีลักษณะปรากฏ (Facies) เหมือนกับส่วนบนของ “Upper formation” ของกลุ่มหินภูเก็ต (Mitchell <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,1970) ที่เกิดจาก การตกตะกอนภายใต้อิทธิพลของกระแสน้ำขุ่นข้น (turbidity current) 3) หมวดหินเขาเจ้า (Khao ChaoFormation) ตั้งชื่อจากชื่อเขาเจ้า ที่อยู่ทางทิศเหนือของเขื่อนแก่งกระจาน ความหนาของหมวดหินนี้ประมาณ270-760 เมตร ในส่วนล่างประกอบด้วยหินทรายเนื้อควอตซ์ (orthoquartzite) สีเทา ถึงเทาอ่อน เป็นชั้นหนาเนื้อละเอียดถึงปานกลาง มีการคัดขนาดดี เม็ดทรายมีลักษณะเม็ดเหลี่ยมปานกลาง ถึงเม็ดกลมปานกลาง ในส่วนกลางเนื้อหินมีขนาดละเอียดขึ้น ประกอบด้วยหินดินดาน หินทรายแป้ง และหินโคลน สีเทาอ่อน ถึงเทาเข้ม เกิดเป็นชั้นบาง ในส่วนบนเป็นหินทรายสีขาวถึงน้ำตาลแดง เนื้อละเอียด ถึงปานกลาง มีการคัดขนาดดี เม็ดทรายมีลักษณะเม็ดกลมปานกลาง พิสิทธิ์ ธีรดิลก และคณะ (2528ก) ได้ให้กลุ่มหินแก่งกระจานของแผนที่ธรณีวิทยาระวางจังหวัดนครปฐม ประกอบขึ้นด้วย 3 หมวดหิน (ตารางที่ 4.1)เรียงจากอายุมากไปหาน้อยคือ หมวดหินห้วยพุร้อนประกอบด้วยหินควอร์ตไซต์ เนื้อแน่น เม็ดละเอียดหินดินดาน สีเทาดำ และหินแปรพวก หินชิสต์ หินฮอร์นเฟลส์ หินชนวน หมวดหินเขาพระ ประกอบด้วยหินโคลนและหินทรายเนื้อปนกรวด สลับด้วยชั้นของหินโคลนและหินทราย บนสุดเป็นหมวดหินเขาวังสะดึงประกอบด้วยหินทรายและหิน orthoquartzite สีขาวเทาขาว เนื้อแน่น เป็นชั้น และหินดินดานต่อมา พิสิทธิ์ ธีรดิลก และคณะ (2528ข) ได้ให้กลุ่มหินแก่งกระจานจากการทำแผนที่ธรณีวิทยาระวางอำเภอหัวหิน ประกอบด้วย 2 หมวดหินเรียงจากอายุมากไปหาน้อยคือ หมวดหินเขาพระ ประกอบด้วยpebbly rocks สลับด้วยหินดินดานและหินทราย มีซากดึกดำบรรพ์พวก Brachiopods, Bryozoan,Cor<strong>al</strong>s หมวดหินเขาเจ้า ประกอบด้วย orthoquartzite สีขาว และหินดินดานเนื้อปนแร่เฟลด์สปาร์และเนื้อปนปูนจำรัส มหาวัจน์ และคณะ (2528) ได้จัดให้หินยุคคาร์บอนิเฟอรัสของแผนที่ระวางจังหวัดชุมพรอำเภอกระบุรีอยู่ในหมวดหินมัทรี ประกอบด้วย orthoquartziteหินทรายแป้งและหินดินดาน ส่วนหินเนื้อปนกรวดทั้งหลายจัดให้อยู่ในหมวดหินกระบุรีและให้มีอายุSilurian-Devonianชัยยันต์ หินทอง และคณะ (2528) จัดให้หินเนื้อปนกรวด หินทราย หินทรายแป้งและ orthoquartziteของแผนที่ระวางจังหวัดภูเก็ตอยู่ในชุด CP ยุค Permian-Carboniferousลำดับชั้นหินของกลุ่มหินแก่งกระจาน: ปรับปรุงใหม่

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!