10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

136ลำดับชั้นหิน Dingjiazhai Formation ที่ typesection ที่หมู่บ้านตุงซังพัว (Dongshanpo) อยู่ห่างจากBaoshan มาทางใต้ประมาณ 40 กม. (หมายเลข 4 และ5 ในรูปที่ 6.1) ลำดับชั้นหินในส่วนล่างเอียงเทไปทางทิศเหนือ (32/008, dip direction) ประกอบด้วยชั้นบางของหินโคลนสลับกับหินทราย เนื้อละเอียด (รูปที่ 6.2ก) บางช่วงสลับด้วย well sorted sandstone บนขึ้นมาปิดทับด้วยหินโคลนปนกรวด (รูปที่ 6.2ข) มี Clasts ส่วนใหญ่เป็นพวก quartzite, limestone และส่วนใหญ่จะขนาดเล็กกว่า 1 ซม. ซึ่งส่วนนี้เข้าใจว่าเป็นพวกที่เกิดจากdebris flow เพราะชั้นหินเปลี่ยนขึ้นไปเป็น turbidites (รูปที่ 6.2ค) เป็นหินทราย เนื้อละเอียด เป็นชั้นดี หนาชั้นละประมาณ 3-30 ซม. ชั้นหินมีความยาวต่อเนื่องทางด้านข้างค่อนข้างดี และแทรกสลับด้วยหินโคลน บนขึ้นมาพบซากดึกดำบรรพ์มาก เช่น Bryozoa, crinoid และbrachiopod (รูปที่ 6.2ค, ส่วนนี้เทียบได้กับหมวดหินเขาพระ) บนขึ้นมาอีกเป็นส่วนบนของ DingjiazhaiFormation พบชั้นหินปูนแทรกสลับในหินโคลน สีเทาน้ำตาลแดงประมาณ 3 ช่วง (รูปที่ 6.2ง-จ) ในหินปูนมีซากดึกดำบรรพ์มากมายทั้ง fusulinid (Pseudofusulinasp., Eoparafusulina spp. บ่งอายุ Sakmarian orLower Permian, Wang <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001a), crinoid และbrachiopod บนสุดก่อนที่ชั้นหินจะเปลี่ยนไปเป็นหินบะซอลต์ของ Woniusi Formation เป็นหินโคลนสีแดงแต่ไม่พบลักษณะ baked zone มีการนำเอาหินบะซอลต์ไปหา P<strong>al</strong>eom<strong>al</strong>atitudian<strong>al</strong> s<strong>et</strong>ting ให้ผลว่าเกิดอยู่ซีกโลกใต้ (42 ํS) ใกล้กับ Gondwana (Huangand Opdyke, 1991 in Shi <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997)ที่หมู่บ้าน Xiaoxinzhai, Gengma County (หมายเลข 9 ในรูปที่ 6.1) อยู่ด้านใต้ของ Boashanบทที่ 6block บริเวณชายแดนกับพม่า มีลักษณะภูมิประเทศเป็นหุบในเทือกเขาสูง (รูปที่ 6.3ก) บริเวณนี้เป็นส่วนบนของ Yongde (หยงเตอ) Formation หนาประมาณ 380เมตร (Wang <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001a) จากลักษณะเนื้อหินที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินปูนจึงน่าเทียบได้กับส่วนล่างของกลุ่มหินราชบุรี ชั้นหินบริเวณ roadcut outcrop ข้างหมู่บ้าน (รูปที่ 6.3ข และ 6.3ค) ประกอบด้วยชั้นของหินปูนแทรกสลับด้วยหินดินดานวางตัวเอียงเทไปทางทิศตะวันตก (35/254) มีซากดึกดำบรรพ์มากเป็นพวกBrachiopods ตรวจสอบในเบื้องต้นเป็น Eolyttonia sp.,Neoplicatifera sp., Vediproductus sp. บ่งอายุRoadian to Wordian นอกจากนี้ยังพบ Bryozoa และCrinoid stems มาก (รูปที่ 6.3ง และ 6.3จ) และปะการังพวก Lophophy llidium proliferum, Lophophyllidiumsp., Verbeekiella sp., Ufimia sp. ให้อายุ LateKungurian to Roadian (Wang and Sugiyama, 2002)ชั้นหินปิดทับอย่างต่อเนื่องด้วยหินปูนของ ShazipoFormation ซึ่งแยกได้เป็น 2 ส่วน (รูปที่ 6.3ฉ) ส่วนล่างเป็น thin to medium bedded limestones (เทียบได้กับหมวดหินพุเลียบ) และปิดทับด้วย Massive limestones (เทียบได้กับหมวดหินอุ้มลูก) ในส่วนล่างของ Shazipo Formation พบปะการัง Sinopora sp.,Thomasiphyllum sp. และส่วนบนของ thin to mediumbedded limestones พบ Eopoly-diexodina sp. เป็นจำนวนมาก ทั้ง Sinopora sp. และ Eopolydiexodinasp. ก็พบในประเทศไทย เช่น ที่เขาพุเลียบ เขาพริก เขาอีโก้ ให้อายุ WordianRevised Lithostratigraphy of the Kaeng Krachan Group

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!