10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

106บทที่ 5สำหรับ Altermann (1987) ได้ทำการศึกษาหิน pebbly mudstone ทั้งที่เกาะลังกาวี ประเทศมาเลเซีย และในภาคใต้ของไทยที่เกาะพีพี เกาะภูเก็ตและบริเวณแก่งกระจาน มีความเห็นสอดคล้องกับการแปลความหมายของ Mitchell <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1970) ได้แบ่งหินของ “กลุ่มหินภูเก็ต” ออกเป็น 9 Facies โดยกล่าวว่าไม่พบหลักฐานของ glaciomarine origin แต่พบหลักฐานของการสะสมตัวแบบ continent<strong>al</strong> slope depositsรวมทั้งซากดึกดำบรรพ์ของ Cathaysian และ Eurasianแทน จึงสรุปว่าชั้นหินเหล่านี้สะสมตัวในน้ำทะเลตื้นจนถึง continent<strong>al</strong> slope โดยมีกระบวนการ gravityflow ร่วมด้วย และบางส่วนแปลให้เป็นตะกอนของsubmarine fanส่วน Hills (1989) จากการศึกษาลำดับชั้นหินและลักษณะของ clasts บริเวณเกาะภูเก็ต ได้แบ่ง “กลุ่มหินภูเก็ต” บริเวณเกาะภูเก็ตออกเป็น 3 หมวดหิน และแปลลำดับชั้นหินส่วนล่างสะสมตัวแบบ Glaciomarinedeposits บนขึ้นมาหินสะสมตัวจากผลของ Multipledebris flows และบนสุดเป็นตะกอนน้ำทะเลตื้น เช่นเดียวกันกับ Ampaiwan <strong>et</strong> <strong>al</strong>.(2004) ได้ทำการศึกษาลำดับชั้นหิน รวมทั้งลักษณะของ dropstone และdump structures ที่เกาะภูเก็ต และสรุปว่ากลุ่มหินแก่งกระจานเกิดสะสมตัวแบบ Glaciomarine origin โดยมีหินโคลนปนกรวดเกิดแบบ debris flow สรุปได้ว่า ประเด็นปัญหาข้อขัดแย้งอยู่ตรงที่มีสภาพแวดล้อมแบบธารน้ำแข็งมาเกี่ยวข้องกับการสะสมตัวของกลุ่มหินแก่งกระจานหรือไม่ และทุกฝ่ายเห็นพร้องกันว่าหินเกิดสะสมตัวทั้งในทะเลลึกและตื้นและมี Gravity flow deposits รวมทั้ง Turbiditesเกี่ยวข้องด้วยการเกิดของหินโคลนปนกรวดEyles and Eyles (1992) กล่าวว่าหินโคลนปนกรวด (diamictite หรือ pebbly rock และ tillite) นั้นสามารถเกิดได้ในหลายสภาวะแวดล้อม ดังนั้นการศึกษาหินลักษณะดังกล่าวจึงต้องศึกษาหินที่วางตัวอยู่ด้านบนและด้านล่างของหินโคลนปนกรวดด้วยเนื่องด้วย glaci<strong>al</strong> facies พบเกิดร่วมกับอีกหลายสภาวะแวดล้อม เช่น river, lake, continent<strong>al</strong> shelfและ slope ดังนั้น ใน glaci<strong>al</strong> environments จึงอาจมีตะกอนของ gravity flow, turbidite และอื่นๆ เกิดร่วมได้ ในภาพรวม Glaci<strong>al</strong> environments แบ่งออกได้เป็น2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ glacioterrestri<strong>al</strong> และ glaciomarineสำหรับ glaciomarine นั้น อาจแบ่งได้โดยอาศัยความใกล้ไกลจากแหล่งหิมะน้ำแข็ง (ice margin) แบ่งเป็นProxim<strong>al</strong> (ice margin to sever<strong>al</strong> km) และ Dist<strong>al</strong> (sever<strong>al</strong> km to ‘000 km) อิทธิพลของตะกอนที่สะสมตัวใน continent<strong>al</strong> shelf, continent<strong>al</strong> slope และabyss<strong>al</strong> plain จะมีผลมากใน Dist<strong>al</strong> glaciomarineenvironmentสรุปสภาวะแวดล้อมการสะสมตัวของกลุ่มหินแก่งกระจานเป็นที่เชื่อโดยทั่วกันว่า Shan-Thai terraneแยกตัวออกมาจาก Gondwan<strong>al</strong>and ที่อยู่บริเวณขั้วโลกใต้ และ Pebbly rocks ก็นิยมใช้เป็นหลักฐานบอกการเริ่มแยกตัวของ Shan-Thai terrane จากการพบ Brachiopods ในหิน Pebbly mudstones ที่เกาะพีพีเกาะมุก ระบุว่าเป็นพวก Temperate fauna อายุ LateAsselian or Early Sakmarian (Lower Permian)แสดงว่าการแยกตัวของ Shan-Thai terrane ออกจากGondwan<strong>al</strong>and เริ่มในช่วง Lower Permianหลักฐานที่เกาะภูเก็ต พบว่ามีการเปลี่ยนของชั้นหินจาก Pebbly rocks ปิดทับด้วยหินโคลน เนื้อ (Massive mudstones) และเปลี่ยนขึ้นไปเป็น Thinbedded sandstones and mudstones และLaminated mudstones ลักษณะเช่นนี้เป็นdeposition<strong>al</strong> sequence เกิดจากกระบวนการ Gravityflow (Mass flow and turbidity current) ซึ่งในปัจจุบันการสะสมตัวในทะเลลึกโดยกระบวนการ Gravity flowนิยมใช้รูปแบบ Submarine fan model ช่วยในการRevised Lithostratigraphy of the Kaeng Krachan Group

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!