10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การศึกษาข้อมูลและผลงานศึกษาวิจัยที่มีมาก่อน 13หินโคลน โดยในชั้นหินทรายและหินโคลนมี crosslamination และซากดึกดำบรรพ์มาก ในตอนนั้นให้อายุช่วง Devonian-Carboniferous ต่อมา Lumjuan (1993)ได้ศึกษาเพิมเติมในบริเวณอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฏร์ธานี ได้แบ่งหมวดหินแหลมทาบออกเป็น Lower unit และUpper unit (รูปที่ 2.4) โดย Lower unit หนาประมาณ350 เมตร ประกอบด้วย coarsening upwardsequence ประกอบด้วยการสลับกันของหินทรายแป้งและหินทราย มีซากดึกดำบรรพ์หลายชนิด เช่นPosidonomya sp., Chon<strong>et</strong>es sp., Bucanella sp.,Pro<strong>et</strong>us sp., Pecten sp.ให้อายุ Early Carboniferousในตอนบนชั้นหินค่อยๆ เปลี่ยนเป็นหินทรายสลับหินดินดาน สีดำ ยิปซัม และ anhydrite ชั้นหินโผล่ชัดเจนบริเวณเขาสีอินและเขาหลวง ส่วน Upper unit มีความหนา 520 เมตร ประกอบด้วยการแทรกสลับของหินโคลนสีเทาเข้มเป็นชั้นขนาดบางมากถึงหนา กับหินทรายขนาดเม็ดละเอียดถึงปานกลาง มี cross bedding, load cast,flute cast และมี thin bedded limestone andconglomerate lenses ถัดขึ้นไปเป็นหินโคลนเนื้อปนกรวด มีกรวดเป็นพวก หินปูน หินทราย หินเชิร์ต หินแกรนิตที่มีการเรียงตัว (foliated granite) พบซากดึกดำบรรพ์พวก Linoproductus sp., Ruggiscostellasp., Neochon<strong>et</strong>es sp., Kitakamithyris sp.,S<strong>et</strong>igenites sp. ให้อายุ Late Carboniferous to EarlyPermian บนสุดเป็นหินดินดานสีเทาเขียวสลับกับหินโคลนและหินทรายแป้ง ซึ่งมี ripple mark และ crossbeddingรูปที่ 2.4 แสดงการแบ่งลำดับชั้นหินของหมวดหินแหลมทาบ บริเวณแหลมทาบ และเขาสีอิน (Lumjuan, 1993)ลำดับชั้นหินของกลุ่มหินแก่งกระจาน: ปรับปรุงใหม่

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!