10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

24บทที่ 2Sawata <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1975) ศึกษาลำดับชั้นหินที่เขาพระ จังหวัดราชบุรี รวมทั้งศึกษาลักษณะโครงสร้างของชั้นหิน (sedimentary structure) ได้แบ่งชั้นหินออกเป็น10 facies สรุปว่าชั้นหินมีการสะสมตัวจาก turbiditycurrent ซึ่งเทียบลักษณะได้กับ Upper Formation ของMitchell <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1970)Tantiwanit <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1983) รายงานว่า UpperP<strong>al</strong>eozoic pebbly rocks หรือที่เรียกในปัจจุบันคือกลุ่มหินแก่งกระจาน ประกอบด้วยหินโคลนปนกรวด หินโคลนเป็นชั้นดีและหิน Turbidites มีโครงสร้างชั้นหินแบบ load cast, slump structure, graded bed และdropstone–like structure ขนาดของเม็ดกรวดส่วนใหญ่เล็กกว่า 1 เซนติเมตร มีรูปร่างเป็นกึ่งเหลี่ยมถึงมีความมนดีปานกลาง (subangular to subround)ประกอบด้วย quartzite, limestone, granite และgneissic granite และสรุปว่าชั้นหินเหล่านี้มีโอกาสเกิดจาก 3 กระบวนการ คือ Turbidity current and slumpdeposits, Ice rafted deposits, และ Tillite depositsFontaine and Sute<strong>et</strong>horn (1988) ศึกษาปริมาณของ boron ในหินโคลนปนกรวดและหินดินดานจำนวนหลายตัวอย่างที่เก็บจากประเทศอินโดนีเซีย มาเลเชีย และจากในประเทศไทย โดยแนวคิดที่ว่าปริมาณของ boron ในตะกอนที่สะสมตัวจาก iceberg จะมีความเข้มข้นน้อยกว่าที่สะสมตัวในน้ำทะเลธรรมดา ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณน้ำจืดในiceberg ทำให้ boron มีความเข้มข้นน้อยลง พบว่าปริมาณของ boron ในหินดินดานจะพบมากกว่าในหินโคลนปนกรวด แสดงว่าหินโคลนปนกรวดมีการสะสมตัวจาก glaciomarine ในลักษณะที่ตะกอนมีการเคลื่อนที่และสะสมตัวในน้ำทะเลลึก (qui<strong>et</strong> shelf depositbelow wave influence with a few sho<strong>al</strong>s)2.4 ข้อมูลเกี่ยวกับ Hummockycross stratificationHummocky cross-stratification (HCS) เป็นโครงสร้างของหินชั้นที่ได้รับความสนใจมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เนื่องจากมีรูปลักษณะพิเศษแตกต่างจากชั้นหินเฉียงระดับชนิดอื่น เป็นชื่อที่ตั้งโดยHarms <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1975) ใช้เรียกชั้นหินเฉียงระดับที่มีรูปร่างลาดเอียงนูน (hummock) และเว้า (sw<strong>al</strong>e) มี spacingขนาดประมาณ 1 เมตรหรือมากกว่า ที่พบในหินทรายเนื้อละเอียดและในหินทรายแป้ง (รูปที่ 2.6) ในปัจจุบันขนาดของ spacing จะคลุมถึงพวกที่มีขนาดเล็กกว่า 1 เมตรด้วย โดยจะเรียกว่า sm<strong>al</strong>l sc<strong>al</strong>e hummockycross-stratification นอกจากนี้ Harms <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1975)ได้บอกคุณลักษณะเด่น 4 ประการของ HCS คือ 1) lowangle (ปกติน้อยกว่า 10 องศา แต่อาจถึง 15 องศา)และมี erosion bounding surface 2) มีแนวของชั้นหิน(laminae) ที่เกือบขนานกับ lower bounding surface 3)มีความยาวและมุมเอียงเทของแนวชั้นหินเปลี่ยนไปแบบมีระเบียบ 4) มีมุมเอียงเทของชั้นหินในหลายทิศทางการกำเนิดของ HCS ในช่วงแรกๆ เชื่อว่าเป็นผลจาก storm deposits ซึ่งมักพบในน้ำทะเลตื้นใกล้ชายฝั่ง (เช่น Harms <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1975; Hunter and Clifton,1982) แต่เมื่อมีการศึกษาเพิ่มมากขึ้น พบว่า HCS เกิดร่วมได้ทั้งในตะกอนของน้ำจืด และน้ำทะเลตื้นจนถึงท้องทะเลลึก (Prave and Duke, 1990) นอกจากนี้ ยังมีนักวิชาการบางส่วนอธิบาย HCS ว่ามีการกำเนิดแบบantidune (Rust and Gibling, 1990; Yagishita, 1994)Revised Lithostratigraphy of the Kaeng Krachan Group

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!