10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

14บทที่ 22.2 ด้านบรรพชีวินวิทยาของกลุ่มหินแก่งกระจานก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ โ ด ย ใ ช้ ช นิ ด ข อ งซากดึกดำบรรพ์ เป็นงานวิจัยมาตรฐานที่ใช้หาความสัมพันธ์ด้านสภาพภูมิศาสตร์บรรพกาลและความสัมพันธ์ของแผ่นเปลือกโลก จากหลักการที่ว่าสิ่งมีชีวิตประเภทเดียวกันจะมีสภาพแวดล้อมของการเจริญเติบโตที่คล้ายกัน ดังนั้นพื้นที่ในปัจจุบันที่พบซากดึกดำบรรพ์ชนิดเดียวกัน ในช่วงการสะสมตัวของชั้นหินก็ควรจะมีตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้เคียงกัน เช่น Archboldand Singh (1993) พบว่าแบรคิโอพอดของยุคเพอร์เมียนตอนต้นของบริเวณภูเขาหิมาลัยมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับของภาคตะวันตกของออสเตรเลีย ซึ่งแสดงว่าพื้นที่ทั้งสองบริเวณในช่วงเวลาดังกล่าวเคยอยู่ใกล้กันมาก่อน Dickin <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1993) ใช้ซากดึกดำบรรพ์ยุคเพอร์เมียนตอนต้นของบริเวณคาบสมุทรอินเดีย ภูเขาหิมาลัยและทิเบต เพื่อศึกษาการเปลี่ยนของสภาพภูมิอากาศจากน้ำทะเลเย็นไปเป็นน้ำทะเลอบอุ่น ซึ่งทั้งสามบริเวณเคยเป็นส่วนหนึ่งของมหาทวีปกอนด์วานาลักษณะการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวที่เปลี่ยนจากหินที่สะสมตัวในน้ำทะเลเย็นเปลี่ยนขึ้นไปเป็นน้ำทะเลอบอุ่นจะพบในประเทศไทยด้วย โดยพบในกลุ่มหินแก่งกระจานและกลุ่มหินราชบุรี ปัญหาที่น่าสนใจประการหนึ่งคือกลุ่มหินแก่งกระจานควรมีอายุเริ่มต้นที่ใด Upper Carboniferousหรือ Lower Permian หรืออย่างอื่น และความถูกต้องของการตรวจซากดึกดำบรรพ์มีเพียงใดกลุ่มหินแก่งกระจานเดิม Piyasin (1975b) ให้มีอายุ Upper Devonian to Upper Carboniferousจากการพบซากดึกดำบรรพ์ที่ไม่สมบูรณ์พวก Chon<strong>et</strong>essp. ในหมวดหินห้วยพุน้อยซึ่งให้อายุ Upper Devonianและในหมวดหินเขาพระที่เขาพระและเขากอก พบFenestella cf. triseri<strong>al</strong>is Ulrich และ Polypora cf.gracilis Prout ให้อายุ Upper Carboniferous ต่อมาพบซากดึกดำบรรพ์มากมายในหลายพื้นที่ จากส่วนบนของกลุ่มหินมีอายุ เพอร์เมียนตอนต้น เช่นที่ เกาะมุก เกาะพีพี เกาะยาวน้อย เขาพระ (Waterhouse, 1982;Pitakpaivan and Mantajit, 1981; Shi <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) แต่อายุของ Bryozoa ที่ได้จะขัดแย้งกับของ Sakagami (1968a, 1968b, 1968c) ที่ให้เป็น Lower Permian โดยทำการศึกษา bryozoa บริเวณเขาตาม่องไร่ เขาช่องกระจก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขาพริก จังหวัดราชบุรีพบว่า bryozoa เกิดร่วมในหินทราย สีน้ำตาล และหินปูนสีเทา และได้แบ่ง bryozoa ออกเป็น 18 speciesเช่น Fistulipora timorensis Bassler, Fistulipora cf. labratula Bassler, Fistulipora cf. grandisvolongensis Nikiforova, Coscinotrypa orient<strong>al</strong>isSakagami (n. sp.), Dyscritella grossa Sakagami (n. sp.), Fenestella cf. subrudis Condra, Fenestellapulchradors<strong>al</strong>is Bassler, Polypora cf. repens Trizna,Polypora cf. tripliseriata Bassler และในปี 2513Sakagami (1970, 1973) ได้ศึกษา bryozoa ที่เกาะมุกและที่เขาเรือน จังหวัดราชบุรี พบ bryozoa พวกDyscritella sp. หลายชนิด เทียบเคียงได้กับทางด้านตะวันตกของออสเตรเลีย และให้อายุเป็น LateArkinskian อีกทั้งอายุของซากดึกดำบรรพ์พวก cor<strong>al</strong>และ brachiopod ที่พบในกลุ่มหินแก่งกระจานต่างบ่งอายุ Lower Permian ดังนั้นอายุของกลุ่มหินที่ให้เป็นคาร์บอนิเฟอรัส-เพอร์เมียน จึงมีความไม่แน่นอนว่าอายุส่วนล่างของกลุ่มหินจะแก่เพียงใดSektheera (1992) จากการตรวจพิสูจน์brachiopods ในหินทรายแป้งและหินโคลนจากเขาคลองแหง จังหวัดกระบี่ และแหลมทาบ จังหวัดนครศรีธรรมราช พบมีหลายชนิด เช่น Cleiothyridina,Hustedia, Spiriferella และ Tornquistia ได้ให้อายุตัวอย่างจากเขาคลองแหงเป็น Sakmarian Revised Lithostratigraphy of the Kaeng Krachan Group

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!