10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

162บทที่ 72) Laminated mudstones, 3) Pebbly rocks, 4) Conglomerates, 5) Turbidite sandstones, 6) Massive mudstone, 7) Mudstone with lenticularbedding, 8) Disturbed strata, 9) Maturesandstones โดยในส่วนล่างของกลุ่มหินมีการสะสมตัวของตะกอนแบบ Multi-submarine fans environmentโดยกระบวนการ gravity flows ให้การสะสมตัวของThin bedded sandstones and mudstones และLaminated mudstones ของหมวดหินแหลมไม้ไผ่และหินโคลนปนกรวดหรือ Pebbly rocks ของหมวดหินเกาะเฮ จาก Cruziana ichnofacies ซึ่งพบมากแสดงว่าเป็นส่วนของ shelf environment และบางส่วนของdist<strong>al</strong> fans จะมีความลึกมากให้ลักษณะชั้นหินแบบขนมชั้น (par<strong>al</strong>lel and even beds) สำหรับส่วนกลางและส่วนบนของกลุ่มหิน สภาพภูมิประเทศเปลี่ยนเป็นทะเลตื้น มีลมพายุเป็นครั้งคราว ให้การสะสมตัวของหินทรายของหมวดหินสปิลเวย์ หินโคลนและ Bryozoabeds ของหมวดหินเขาพระ และหินทรายของหมวดหินเขาเจ้า 4. การแยกตัวออกมาจาก Gondwana ที่อยู่ทางแถบขั้วโลกใต้ของ Shan-Thai terrane อย่างช้าในช่วง Early Permian และเมื่อพิจารณาจากข้อมูลด้านP<strong>al</strong>eocurrent directions, grain size distributionและชนิดของก้อนกรวด บ่งชี้ว่าตะกอนถูกพัดพามาจากด้าน Gondwana แสดงว่า Rifted basins เป็นพวกH<strong>al</strong>f graben basins ที่มี escarpment อยู่ทางด้านGondwana5. ได้เสนอ Late Carboniferous hiatus อยู่ในลำดับชั้นหินของคาบสมุทรไทย เหตุผลคือไม่พบUpper Carboniferous fossils ในพื้นที่ดังกล่าว และไม่พบความสัมพันธ์ของกลุ่มหินแก่งกระจานกับชั้นหินที่รองรับ เหตุการณ์ Late Carboniferous hiatus ดังกล่าวมีความสำคัญต่อการศึกษาประวัติของโลก ควรมีการศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม ทั้งจากพื้นที่ในภาคเหนือและภาคตะวันตก6. กลุ่มหินแก่งกระจาน เทียบเคียงได้กับDingjiazhai Formation + Bingma/YongdeFormations ของ Baoshan block และ KongshuheFormation ของ Tengchong block ซึ่งต่างก็มี Pebblyrocks วางตัวอยู่ส่วนล่าง มีลักษณะของ clasts ที่คล้ายกัน และมี Bryozoa bed และ Mature sandstones อยู่ด้านบน (ยกเว้น Tengchong block) ส่วนหินปูน/โดโลไมต์ของกลุ่มหินราชบุรี ก็เทียบได้กับของ Daaoziและ Shazipo Formations (Baoshan block) และDadongchang Formation (Tengchong block) มีลำดับชั้นหินที่ต่างกันก็คือเฉพาะของ Baoshan blockที่มีหินภูเขาไฟพวกบะซอลต์ (Woniusi Formation) เกิดร่วมด้วย ในขณะที่หินโดโลไมต์พบมากในส่วนบนของDaaozi/ Shazipo Formations ส่วนกลางของDadongchang Formation แต่ในกลุ่มหินราชบุรีส่วนใหญ่พบในส่วนล่างและส่วนบนของกลุ่มหิน7. ประเทศไทยมีแหล่ง Gypsum ใหญ่ 2 แหล่ง คือแหล่งพิจิตร-นครสวรรค์ พบบน Indochinaterrane และแหล่งสุราษฎร์ธานี–นครศรีธรรมราช พบบน Shan-Thai terrane ทั้ง 2 แหล่งนี้สัมพันธ์กับสภาพภูมิอากาศบรรพกาลในยุคเพอร์เมียนอย่างไร8. ปัจจุบันนักวิจัยต่างชาติ เช่น ญี่ปุ่น จีนกำลังสนใจพิสูจน์ขอบเขตของแผ่นเปลือกโลกในประเทศไทย โดยเฉพาะในภาคเหนือ ซึ่งรวมถึงการพิสูจน์ Seamount limestones จึงควรที่นักวิจัยไทยร่วมให้ความสนใจด้วย9. ปัจจุบันกรมทรัพยากรธรณี และสถาบันการศึกษาในประเทศขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญด้านซากดึกดำบรรพ์ในหลายสาขา จึงควรที่ผู้บริหารและรัฐบาลจะให้การสนับสนุนทุนการศึกษาในด้านนี้โครงการความร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรทางด้านนี้Revised Lithostratigraphy of the Kaeng Krachan Group

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!