10.07.2015 Views

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

et al. - สืบค้น แบบ ไล่ เรียง - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

144บทที่ 6ในส่วนล่างของกลุ่มหินราชบุรี Fontaine <strong>et</strong> <strong>al</strong>.(1994a, 1994b) รายงานการพบ solitary cor<strong>al</strong>sประกอบด้วย non-dissepimented cor<strong>al</strong> จำนวน 5species คือ Amplexocarinia sp., Paracaninia sp.,Lophophyllidium pendulum Grabau,Pleramplexus sp., and Ufimia sp. ซึ่งพบมีซากดึกดำบรรพ์จำนวนมากของ bryozoans andbrachiopods เกิดร่วมด้วย ลักษณะของกลุ่มซากดึกดำบรรพ์ดังกล่าวจะคล้ายกับที่พบใน YongdeFormation ของ Baoshan block ซึ่งพบLophophyllidium sp., Verbeekiella sp., และ Ufimiasp. นอกจากนี้ non-dissepimented solitary cor<strong>al</strong>:Lophophyllidium orient<strong>al</strong>e ก็พบใน PlateauLimestone ของ Southern Shan States ในประเทศพม่า (Smith, 1941).Tabulata cor<strong>al</strong>s พบทั่วไปในหินปูนกลุ่มหินราชบุรีของคาบสมุทรไทยเป็นพวก Sinopora sp. (Sinopora asiatica) ให้อายุ Murgabian to Dzhulfian (Fontaine and Sute<strong>et</strong>horn, 1988, p. 114-115) เช่นที่ เขาแหลม อำเภอทองผาภูมิ บ้านพุพลู จังหวัดกาญจนบุรี ที่เขาล้าน เขาแขก และ เขาปากกว้าง อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี เขาถ้ำเสือจังหวัดเพชรบุรี ส่วน Rugosa cor<strong>al</strong>s พบน้อยชนิด (low diversity) และไม่ก่อตัวเป็น reef แม้ว่าจะพบเป็นจ ำ น ว น ม า ก ใ น ส่ ว น บ น ข อ ง หิ น ปู น เ พ อ ร์ เ มี ย น ซึ่งแตกต่างจากปะการังที่พบในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือคือไม่มีพวก Ipciphyllum และ Pseudohuangia ซึ่งพบมากในภาคดังกล่าว แต่จะพบพวก Paraipciphyllum โดยทั่วไปในคาบสมุทรไทย (ซึ่งจะไม่ค่อยพบในภาคอื่นๆ ของประเทศ) เช่น ที่เขาแหลม อำเภอทองผาภูมิ ที่เขาล้าน เขาแขก และ เขาปากกว้าง อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี เขาถ้ำเสือจังหวัดเพชรบุรี เขาตาม่องล่าย และเขาคลองวาฬ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (Fontaine and S<strong>al</strong>yapongse, inpress)ใน Baoshan block ยังพบ Massive cor<strong>al</strong> ในส่วนล่างของ Shazipo Formation เป็นพวก Wentzellophylum, Sinopora asiatica,Thomasiphyllum sp. บ่งอายุ Kubergandian to early Dzhulfian สำหรับ Wentzellophyllum นั้น ไม่พบในประเทศไทย แต่ Wang <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (2001b) กล่าวว่ามีลักษณะคล้ายกับ Paraipciphyllum kulvanichiปะการังตัวใหม่ของ Fontaine and Sute<strong>et</strong>horn (1988)ซึ่งมีอายุ Wordian to Capitian age สำหรับ Sinoporaasiatica พบอย่างกว้างขวางใน Cimmerian continentโดยพบในส่วนล่างของกลุ่มหินราชบุรี (ตัวอย่าง TC19a-2,3 ในตารางที่ 5.2) และพบใน DadongchangFormation ของ Tengchong block ด้วย ส่วนThomasiphyllum ก็พบอย่างกว้างขวางทั้งใน WestSumatra, Shan state และคาบสมุทรไทย (Wang andSugiyama, 2002) ที่ Tengchong block พบปะการังในDadongchang Formation เป็นพวก Iranophyllum sp.,Lonsd<strong>al</strong>eiastraea sp.A, Lonsd<strong>al</strong>eiastraea sp.B,Paraipciphyllum sp. , Praewentzelella sp., Sinoporaxainzaensis, Waagenophyllum kueichowense,Wannerophyllum sp. มีอายุช่วง Middle to lowerUpper Permian ที่พบมากเป็นพวก Waagenophyllumkueichowense ในขณะที่ Paraipciphyllum sp. ก็คล้ายParaipciphyllum thailandicum ซึ่งพบในหินปูนของกลุ่มหินราชบุรีของคาบสมุทรไทย (Fontaine andSute<strong>et</strong>horn, 1988).Revised Lithostratigraphy of the Kaeng Krachan Group

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!