09.04.2020 Views

ASA CREW VOL. 21

ASA CREW VOL. 21 ว่าด้วยสถาปัตยกรรมอันเป็นหลักฐานด้านวัฒนธรรมของชาติ เป็นที่บันทึกเรื่องราวมากมาย เช่น ความเชื่อ การใช้ชีวิต ความเจริญด้านเศรษฐกิจและด้านเทคโนโลยีของกลุ่มคน ในอดีตที่ถูกถ่ายทอดออกมาข้ามกาลเวลา

ASA CREW VOL. 21 ว่าด้วยสถาปัตยกรรมอันเป็นหลักฐานด้านวัฒนธรรมของชาติ เป็นที่บันทึกเรื่องราวมากมาย เช่น ความเชื่อ การใช้ชีวิต ความเจริญด้านเศรษฐกิจและด้านเทคโนโลยีของกลุ่มคน ในอดีตที่ถูกถ่ายทอดออกมาข้ามกาลเวลา

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

“เมื่อ 4 ปีที่แล้ว (พศ. 2559-2560) ตอนนั้นมีตําแหน่งเป็น​<br />

ที่ปรึกษากรรมาธิการอนุรักษ์ฯ ได้เสนอให้สมาคมสถาปนิก<br />

สยามฯ ทําโครงการเก็บข้อมูลเบื้องต้นอาคารควรค่าแก่การ<br />

อนุรักษ์ในพื้นที่นี้ โดยมี อ.ปริญญา ชูแก้ว เป็นผู้รวบรวมข้อมูล​<br />

แต่เมื่อเราเข้าไปเห็นข้างใน ก็พบว่าไม่ได้มีเพียงแค่ตัวอาคาร<br />

เท่านั้น แต่ยังมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่บอกเล่าเรื่องราวได้อย่าง<br />

ทรงคุณค่า แต่ละชิ้นมีความเป็น museum piece อย่างเต็ม<br />

ตัว แถมยังใช้งานได้ รวมไปถึงองค์ความรู้ในการซ่อมบํารุงที่<br />

ทําต่อเนื่องมา เมื่อก่อนโรงงานนี้สร้างรถไฟเองได้นอกจากนี้​<br />

ยังมีมรดกต้นไม้ใหญ่ซึ่งเป็นมรดกทางธรรมชาติอีกจ ํานวนมาก”​<br />

อาจารย์ปองขวัญกล่าว และในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2561​<br />

เราได้มีโอกาสเป็นประธานจัดงานสัมมนาวิชาการนานาชาติ<br />

ว่าด้วยมรดกสถาปัตยกรรมโมเดิร์นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ​<br />

mASEANa จัดโดย Docomomo Japan, Japan Foundation​<br />

ร่วมจัดโดย Docomomo International, ICOMOS International​<br />

20th Century Heritage Scientific Committee และสมาคม​<br />

อิโคโมสไทยเป็นเจ้าภาพฝ่ายไทย ในวันสุดท้ายของงานได้มี<br />

การพานักวิชาการนานาชาติที่เข้าร่วมประชุมเข้าทัศนศึกษา<br />

ในโรงงานมักกะสันซึ่งถือเป็นมรดกสถาปัตยกรรมโมเดิร์น​<br />

ที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร์การปฏิวัติอุตสาหกรรมใน<br />

ประเทศไทย และเป็นแห่งเเรกในเเถบเอเชียแปซิฟิก ในการ<br />

เข้าชมและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชาการระดับโลกทําให้​<br />

เกิดมุมมองที่ว่า หากเรามีการพัฒนาพื้นที่ในเชิงอนุรักษ์ที่ดี<br />

มักกะสันมีศักยภาพไปสู่ความเป็นมรดกโลกได้ จึงเกิดเป็น<br />

แรงบันดาลใจให้ต้องมาเริ่มทําการเก็บข้อมูลอย่างจริงจัง​<br />

และเป็นระบบ โดยตั้งโครงการชื่อว่า Makkasan Heritage<br />

Documentation ขับเคลื่อนโดยกลุ่ม Urban Heritage<br />

Network ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางประสานงานให้เกิดการ<br />

จัดทําข้อมูลในทุกรูปแบบ และมีผลให้คนในโรงงานเริ่มเห็น<br />

คุณค่าความสําคัญของทุกสิ่งในโรงงานมักกะสัน<br />

การเริ่มเข้าไปทํางานเก็บข้อมูลสร้างกระเเสการเห็นคุณค่า<br />

และการมีส่วนร่วมในการรักหวงแหน และภาคภูมิใจกับมรดก​<br />

ในมักกะสัน ทางเครือข่ายร่วมกับกลุ่มบิ๊กทรีทําการสํารวจ<br />

ต้นไม้เบื้องต้นและมีการปักหมุดต้นไม้ใหญ่ในโรงงานมักกะสัน​<br />

ทําให้เกิดกระเเสความต้องการที่จะปกป้องต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่ ​<br />

วันที่ 26 มิถุนายน 2561 ในงานฉลองครบรอบ 109 ปี<br />

โรงงาน ทางผู้บริหารและสหภาพแรงงานรถไฟได้จัดพิธีบวช<br />

ต้นไม้ใหญ่ในมักกะสัน ทั้งนี้พวกเขาไม่ได้คัดค้านการพัฒนา<br />

พื้นที่ แต่การพัฒนาไม่ควรทําให้สิ่งที่มีคุณค่าหายไป<br />

a transformation in the future, this data will be a<br />

source of knowledge for the development of the<br />

factory.<br />

“Four years ago (2016-2017), when I was the advisor<br />

of the conservation committee, I had proposed for<br />

<strong>ASA</strong> to lead a project to document the details of<br />

the valuable buildings on the site.” Professor Parinya<br />

Chukeaw helped consolidate the documents for<br />

the project. “However, once we got on site, we found<br />

that not only the buildings, but the tools and<br />

equipment also had historical significance. Each<br />

item had the quality of a museum piece and was<br />

still in use. The knowledge and the know-how of<br />

train reparation that still existed was extensive<br />

to the point that whole trains could be built at the<br />

factory back in the old days. Additionally, ancient<br />

trees in the area were also outstanding natural<br />

heritage,” shared Professor Pongkwan. In October<br />

2018, Thailand hosted the mASEANa (Modern ASEAN<br />

Architecture) International Conference, which<br />

was sponsored by Docomomo Japan, the Japan<br />

Foundation, Docomomo International, ICOMOS<br />

International 20th Century Heritage Scientific<br />

Committee, and ICOMOS Thailand. On the last day<br />

of the conference, the project had led international<br />

academics on an excursion to the site of the factory.<br />

The discussion following the excursion concluded<br />

that the district of Makkasan had the potential to<br />

become a World Heritage Site, provided that systematic<br />

conservation and development was in place. The<br />

factory was considered a modern architectural<br />

heritage that was significant to the industrial revolution<br />

of Thailand and the first in the Asia-Pacific region.<br />

This launched the initiative to collect and document<br />

data on the factory—the “Makkasan Heritage<br />

Documentation” project. The project was run by<br />

the Urban Heritage Network, a group created to<br />

support and coordinate on all types of documentation.<br />

The initiative also helped the factory staff learn<br />

more about the historical values of their workplace.<br />

ภูมิทัศน์ที่แปลกตาและมีความ<br />

เป็นเอกลักษณ์ในโรงงาน<br />

มักกะสันที่รายล้อมด้วยต้นไม้<br />

ใหญ่<br />

The curious and unique<br />

landscape inside the<br />

Makkasan Factory, located<br />

among the trees<br />

เมื่อเดือนสิงหาคม 2560 เครือข่าย Vernadoc นําโดย<br />

ผศ.สุดจิต สนั่นไหว นําทีมนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

ม.รังสิต และสถาบันอาศรมศิลป์ เข้าเก็บข้อมูลมรดก<br />

สถาปัตยกรรมด้วยวิธี Vernadoc ของโรงงาน 5 หลัง​<br />

ในมักกะสัน และมีการจัดนิทรรศการให้คนในโรงงานเข้าชม<br />

เป็นที่สนใจและสร้างความภาคภูมิใจให้คนในโรงงานอย่างมาก<br />

นอกจากนี้การเห็นคุณค่าร่วมกันของคนในโรงงานและภาค<br />

ประชาสังคม ยังทําให้เกิดความร่วมมือที่เห็นเป็นรูปธรรมเช่น​<br />

โครงการซ่อมประตูไม้ อาคาร 2465 ที่สมาคมสถาปนิก<br />

สยามฯ เคยให้รางวัลไว้ และกรมศิลปากรได้มาสํารวจและ<br />

ระบุคุณค่าไว้เป็นอาคารที่มีคุณค่าเป็นโบราณสถาน แม้จะ<br />

ยังไม่ได้มาขึ้นทะเบียน แต่ได้ออกจดหมายมาถึงการรถไฟ<br />

แห่งประเทศไทยว่าจะดําเนินการอะไรต้องแจ้งไปทางกรมศิลป์ ​<br />

ก่อน ในการนี้เมื่อจะต้องมีการซ่อมประตูทางเครือข่ายมรดก​<br />

เมืองก็เป็นธุระจัดหาผู้เชี่ยวชาญด้านงานไม้เเบบโบราณ คือ<br />

อ.สันทัน เวียงสิมา ที่อาสาสมัครมาถอดแบบประตูโบราณนี้<br />

ให้ทางช่างไม้ของโรงงานทําการซ่อมให้ถูกวิธี โดยมีคุณวสุ<br />

โปษยะนันทน์ จากกรมศิลปากรมาให้คําปรึกษาในการดําเนิน​<br />

งานด้วย งานภาคปฏิบัติอีกงานหนึ่งคือการตัดแต่งต้นไม้ใหญ่ ​<br />

The documentation project increased public<br />

awareness towards conservation, participation,<br />

and ownership of the Makkasan heritage. BIGTrees<br />

Project joined the Urban Heritage Network in the<br />

study of the site and tree cataloging, driving an initiative<br />

to conserve ancient trees in the area. On 26 June<br />

2018, the authority of the Railway of Thailand held<br />

an event on the site to celebrate the 109th anniversary<br />

of the Makkasan Factory and to bless the ancient<br />

trees in the area. They were not opposed to development,<br />

but they stressed that the values and history<br />

should be actively preserved.<br />

In August 2018, the Vernadoc network, led by<br />

Assistant Professor Sudjit Sananwai with students<br />

from the Faculty of Architecture at Rangsit University<br />

and Arsom Silp Institute of the Arts, sought to<br />

collect and document the data of the architectural<br />

heritage using the Vernadoc methodology. All five<br />

factory houses in Makkasan had been covered, and<br />

<strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong> <strong>21</strong> 6 7<br />

Refocus Heritage

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!