09.04.2020 Views

ASA CREW VOL. 21

ASA CREW VOL. 21 ว่าด้วยสถาปัตยกรรมอันเป็นหลักฐานด้านวัฒนธรรมของชาติ เป็นที่บันทึกเรื่องราวมากมาย เช่น ความเชื่อ การใช้ชีวิต ความเจริญด้านเศรษฐกิจและด้านเทคโนโลยีของกลุ่มคน ในอดีตที่ถูกถ่ายทอดออกมาข้ามกาลเวลา

ASA CREW VOL. 21 ว่าด้วยสถาปัตยกรรมอันเป็นหลักฐานด้านวัฒนธรรมของชาติ เป็นที่บันทึกเรื่องราวมากมาย เช่น ความเชื่อ การใช้ชีวิต ความเจริญด้านเศรษฐกิจและด้านเทคโนโลยีของกลุ่มคน ในอดีตที่ถูกถ่ายทอดออกมาข้ามกาลเวลา

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

USERS’ OPINION<br />

Architecture Library,<br />

Chulalongkorn University<br />

Text: วสวัตติ์ รุจิระภูมิ / Wasawat Rujirapoom<br />

Photo: W Workspace<br />

พื ้นที่ co-working มีข้อดีคือใครจะ<br />

สามารถเข้ามาใช้งานก็ได้ ไม่ว่าจะนั่ง<br />

ทำงาน ตัดโมเดล หรือแม้กระทั่งเดิน<br />

ผ่าน โดยที่ไม่ต้องผ่านบรรณารักษ์<br />

ก่อนเหมือนห้องสมุดเดิม และยังเป็น<br />

ส่วนที่พูดคุยใช้เสียงในเวลาทำงาน<br />

ร่วมกันได้ ส่วนห้องสมุด บางครั้งคน<br />

อาจจะไม่ได้เข้ามาค้นหาหนังสือ ก็ยัง<br />

สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ มีปลั๊ก<br />

ไฟรองรับ ไม่ต้องไปหาพื ้นที่ทำงาน<br />

ข้างนอก ในส่วนชั้นบนสุดสามารถ<br />

ใช้เป็นห้องประชุมที่ดูใช้งานง่าย<br />

ไม่เป็นทางการ<br />

เมื ่อก่อนอาจจะไม่ได้เข้ามา หากไม่อ่าน<br />

หนังสือ ตอนนี้เข้ามาใช้งานได้ แม้ไม่<br />

ได้มาเพื ่ออ่านหนังสือ<br />

นรีรัตน์ ไกรทอง<br />

นักศึกษาปริญญาโท และผู้ช่วยสอน<br />

เป็นห้องสมุดที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย<br />

การใช้งานไม่ได้จ ำกัดเพียงแค่ต้องมา<br />

ค้นหาหนังสือเท่านั<br />

การออกแบบพื้นที่<br />

ช่วยดึงดูดให้เด็กได้ใช้พื้นที่ทุกส่วนของ<br />

ห้องสมุดได้อย่างเต็มที่สถาปนิกคิด<br />

รายละเอียดทุกๆ ส่วน อย่างผนังโครง<br />

เหล็กที่ออกแบบเป็นปลายเปิดที่สามารถ<br />

ไปทำอะไรก็ได้ ช่วยให้เกิดการเรียนรู้<br />

และประสบการณ์ใหม่ๆ ได้อยู่ตลอด<br />

ภูรี อำพันสุข<br />

สถาปนิก สำนักบริหารระบบกายภาพ<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ห้องสมุดใหม่เอื้อประโยชน์แก่การท ำงาน<br />

ของเด็กสถาปัตย์มาก แยกส่วนทำงาน<br />

ออกมาชัดเจน อีกทั้งยังมีโต๊ะ ปลั๊กไฟ<br />

และแสงสว่าง จากแต่ก่อนที่ใช้พื้นที่<br />

โถงทางเดินข้างล่างอาคารนั ่งทำงาน<br />

ไม่ได้ติดแอร์ เพราะห้องสมุดเดิมนั ้น<br />

มีโต๊ะและที่นั่งไม่มาก พื้นที่ทำงานและ<br />

อ่านหนังสือทับซ้อนกัน ต้องแย่งกันใช้<br />

ปัจจุบันแยกสัดส่วนกันชัดเจน ไม่<br />

รบกวนกัน ทำให้ได้เข้ามาใช้บ่อยมากขึ้น<br />

ณัฐฐวัตร ปิติโกมล<br />

นิสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

ชั้นปีที่ 4<br />

ห้องสมุดเดิมเวลาหกโมงเย็นก็ปิด<br />

ทำการแล้ว ไม่ว่าจะพื้นที่ค้นหาหนังสือ<br />

หรือนั่งทำงาน ตอนนี้แบ่งพื้นที่การใช้<br />

ทั้ง 2 ส่วนแยกออกจากกัน ในส่วน<br />

ห้องสมุดที่มีบรรณารักษ์ชั้นบนปิดหก<br />

โมงเย็นตามเวลาเดิม แต่พื้นที่ทำงาน<br />

สามารถใช้ได้ถึงสี่ทุ่ม เอื้อต่อการใช้งาน<br />

และพฤติกรรมของนิสิตมากขั ้น มี<br />

ปลั๊กไฟหลายจุด จากที่แต่ก่อนมีไม่<br />

เพียงพอ ต้องใช้ปลั๊กพ่วงยาวๆ ต่อกัน<br />

ทำให้สามารถนั่งทำงานได้ทุกชั้น<br />

ชอบพื ้นที่ชั้นบนที่มีที่นั่งทำงานเป็น<br />

โต๊ะญี่ปุ่นมีแสงธรรมชาติส่องเข้ามา<br />

อยู่ในห้อง auditorium ที่น้องๆ ปี 2<br />

ได้ใช้ตรวจแบบรวม<br />

นรมน ปัญจปิยะกุล<br />

นิสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4<br />

<strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong> <strong>21</strong> 134 135<br />

Refocus Heritage

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!