09.04.2020 Views

ASA CREW VOL. 21

ASA CREW VOL. 21 ว่าด้วยสถาปัตยกรรมอันเป็นหลักฐานด้านวัฒนธรรมของชาติ เป็นที่บันทึกเรื่องราวมากมาย เช่น ความเชื่อ การใช้ชีวิต ความเจริญด้านเศรษฐกิจและด้านเทคโนโลยีของกลุ่มคน ในอดีตที่ถูกถ่ายทอดออกมาข้ามกาลเวลา

ASA CREW VOL. 21 ว่าด้วยสถาปัตยกรรมอันเป็นหลักฐานด้านวัฒนธรรมของชาติ เป็นที่บันทึกเรื่องราวมากมาย เช่น ความเชื่อ การใช้ชีวิต ความเจริญด้านเศรษฐกิจและด้านเทคโนโลยีของกลุ่มคน ในอดีตที่ถูกถ่ายทอดออกมาข้ามกาลเวลา

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

มีโครงการหนึ่งทางพี่จอห์น (ดร.วีระพันธุ์ ชินวัตร) ได้เสนอ​<br />

ให้ทําโครงการแผนที่มรดกวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่นริมนํ้ำ<br />

บางกอก โดยการมีส่วนร่วมของชาวชุมชนในการระบุมรดก​<br />

วัฒนธรรมของตน ซึ่งเลือกเอาชุมชนริมแม่นํ้ำเจ้าพระยา​<br />

ที่เก่าแก่ คือบ้านบุ และกุฎีจีน แต่ด้วยความที่บ้านบุยังไม่มี ​<br />

ความพร้อมมากนัก จึงต่อยอดงานไปไม่ได้ แต่ที่กุฎีจีนกําลัง​<br />

มี crisis จากกรณีที่ทางวัดกัลยาฯ กําลังมีโครงการไล่รื้อ<br />

ชุมชน จึงเป็นโอกาสให้กุฎีจีนถูกเลือกให้เป็นพื้นที่นําร่อง<br />

และทํางานกันอย่างต่อเนื่องมา โดยในช่วงปีที่ 2 เป็นจังหวะ​<br />

ที่อ.แดง (ผศ. ดร.นิรมล กุลศรีสมบัติ) กลับมาจากญี่ปุ่นพอดี ​<br />

โดยจบการศึกษามาทางการฟื้นฟูเมือง จึงชวนมาร่วมงาน<br />

อ.แดงก็ทําอยู่ 4-5 ปี สมาคมฯ ก็คิดว่าถึงเวลาที่ควรจะ<br />

ถอนออกจากพื้นที่เพื่อให้ทางชุมชนเริ่มจัดการตนเองได้แล้ว​<br />

การทํางานของอ.แดงได้ต่อยอดต่อไป ทํางานออกแบบชุมชน​<br />

และผังเมือง จนเป็นที่มาของ UDDC (Urban Design &​<br />

Development Center)<br />

อีกโครงการที่ดีมาก เป็นโครงการที่อ.ตุ๊กเสนอ คืออาคาร<br />

ควรค่าแก่การอนุรักษ์ที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนซึ่งกําลังทยอยหายไป​<br />

จึงเสนอให้จัดประกวดการเก็บข้อมูล ซึ่งล้อกับการทําบัญชี​<br />

Heritage at Risk ของ ICOMOS สากล เพื่อให้เกิดการ<br />

เห็นคุณค่าว่าควรจะต้องเก็บเอาไว้ นอกจากนั้นยังเป็นการ<br />

สร้างคนรุ่นใหม่ให้สนใจงานอนุรักษ์ด้วย โดยให้สร้างทีมที่<br />

มีสถาปนิกที่มีความรู้ในด้านนี้หรืออาจารย์จับมือกับนักศึกษา​<br />

1 คน เพื่อเสนออาคารที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ทําข้อมูล​<br />

ให้ละเอียดเพื่อส่งประกวด ในตอนนั้นทําเป็นโครงการ<br />

ประกวดการจัดทําข้อมูลและมีรางวัลที่ 1-3 เป็นการพาไป<br />

ชมหมู่บ้านมรดกโลกที่ญี่ปุ่น หนึ่งในโครงการที่ส่งมาก็คือ<br />

อาคารศาลฎีกาซึ่งกําลังถูกทุบ เวลามีงานสถาปนิกซึ่งก็จะ<br />

มีการแสดงงานควรค่าแก่การอนุรักษ์ ก็มีเจ้าหน้าที่จากศาล​<br />

มาหาเราขอให้เอางานศาลฎีกาออกจากลิสต์รายชื่ออาคาร<br />

ควรค่าแก่การอนุรักษ์เพราะศาลกําลังจะทุบ นี่ก็เป็นการ<br />

บอกว่างานของเราทําให้เกิดการตื่นตัวที่จะปกป้องอาคาร<br />

หรือทําให้เจ้าของอาคารหรือประชาชนรู้ถึงคุณค่าของอาคาร​<br />

เหล่านี้ หลังจากนั้นเราต้องหาเครือข่ายทํางานเป็นทีมร่วมกับ​<br />

สมาคมอนุรักษ์ศิลปกรรมและสิ่งแวดล้อม (SCONTE)​<br />

สมาคมอิโคโมสไทยและสถาบันการศึกษาอื่นๆ เพื่อช่วยกัน​<br />

ปกป้องอาคารศาลฎีกา แต่ก็ยังไม่สามารถทัดทานได้<br />

อย่างไรก็ตามเราจึงเห็นว่าการทํางานเป็นเครือข่ายนั้นสําคัญ​<br />

จึงได้มีการทํา​MOU กับสมาคมอิโคโมสไทยเพื่อแบ่งปัน<br />

ภารกิจ ทํางานร่วมกันมาอยู่ช่วงหนึ่ง<br />

ในช่วงที่เราทําเรื่องมรดกสถาปัตยกรรมชุมชนก็มีเรื่องการ<br />

ไล่รื้อชุมชนซอยหวั่งหลีเข้ามา เราก็พยายามช่วยเหลืออย่าง​<br />

เต็มที่แต่ด้วยช่องโหว่ของการปฏิบัติงานของกรมศิลปากร<br />

ในการอนุรักษ์มรดกที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนจากการตีความ<br />

กฎหมายโบราณสถานทําให้อาคารมรดกสถาปัตยกรรม​<br />

ยุคโมเดิร์นหลังแรกๆ ของไทยอายุกว่า 80 ปีต้องถูกรื้อไป<br />

อย่างน่าเสียดาย จากนั้นเราเลยมีการจัดอบรมสัมมนา<br />

เรื่องการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมชุมชนเพื่อให้ความรู้<br />

แก่บรรดาสถาปนิกที่ทํางานกับชุมชนโดยร่วมกับมูลนิธิ​<br />

สิ่งแวดล้อมไทย<br />

ช่วงต่อมามีการตั้งกรรมาธิการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรม​<br />

ไทยประเพณีขึ้นโดยมีคุณวสุโปษยะนันทน์ เป็นประธานเพื่อ​<br />

ให้เกิดงานอนุรักษ์งานด้านไทยประเพณีอย่างเป็นรูปธรรม<br />

โดยเลือกเอาการอนุรักษ์หอไตรวัดเทพธิดารามเป็นโครงการ​<br />

แรก และได้รับรางวัล UNESCO Heritage Award Asia<br />

Pacific มาครอง และงานต่อมาคือการบูรณะหอไตร​<br />

วัดเทพธิดาราม<br />

ปี พ.ศ. 2561 เป็นปีที่ครบรอบ 50 ปีของกรรมาธิการ​<br />

อนุรักษ์ฯ เราเองก็อยากให้เกิดงานที่เป็นหมุดหมายสําคัญ​<br />

เกิดการปฏิรูปโครงสร้างการทํางานให้สอดคล้องกับยุคสมัย​<br />

ที่เปลี่ยนไปเพื่อรองรับการทํางานอีกกึ่งศตวรรษหน้า​<br />

ให้มีประสิทธิภาพตอบรับกับสถานการณ์และสอดคล้องกับ<br />

ความต้องการของสังคมปัจจุบัน ด้วยความที่เราเห็นมา​<br />

โดยตลอดว่าการทํางานด้านอนุรักษ์ของสมาคมฯ นั้น​<br />

ไม่แน่นอน ไม่ต่อเนื่อง เพราะขึ้นอยู่กับกรรมการบริหาร<br />

กรรมาธิการที่เปลี่ยนตัวบุคคลไปเรื่อยๆ ตลอดการทํางาน<br />

มาเกือบ 20 ปี เราเห็นแล้วว่าองค์กรของเราเป็นที่พึ่งของ<br />

ประชาชน นอกเหนือจากการจัดให้มีการพระราชทานรางวัล​<br />

อนุรักษ์ดีเด่นจากกรมสมเด็จพระเทพฯ อย่างต่อเนื่องกันมา​<br />

ทุกปีเป็นเวลากว่า 35 ปีแล้ว เราจึงคิดว่าองค์กรนี้ควรเป็น​<br />

ที่พึ่งของประชาชนในด้านการอนุรักษ์ได้อย่างถาวรและ<br />

จริงจัง แม้เราจะไม่ได้เป็นสมาคมอนุรักษ์ แต่เราเป็นองค์กร​<br />

แรกทํางานด้านนี้มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ มีเครดิตดีต่อ<br />

หน่วยงานภาครัฐ ทั้งเป็นที่พึ่งของภาครัฐในเชิงวิชาการ<br />

สายวิชาชีพ ไปนั่งอยู่ในกรรมการชุดต่างๆ ที่มีความสําคัญ<br />

ต่อการพัฒนาประเทศทางกายภาพและสิ่งแวดล้อม เราจึง​<br />

คิดว่าควรมีโครงสร้างองค์กรใหม่ภายใต้การบริหารงานของ<br />

สมาคมฯ อย่างเช่นองค์กรที่มีอยู่แล้วคือสถาบันสถาปนิก<br />

สยาม ซึ่งเดิมก็ได้เคยคุยกับอดีตผู้อํานวยการ ดร.วีระ​<br />

สัจกุล ไว้เบื้องต้นถึงภารกิจแบบนี้นานแล้วก่อนที่ท่านจะ​<br />

ล่วงลับ หรืออาจเป็นโครงสร้างแบบอื่นที่สามารถมีพนักงาน​<br />

ประจําหรือกึ่งประจํามาดูแลรับผิดชอบงานทางด้านนี้<br />

โดยตรง จึงได้เสนอให้ตั้ง Urban Heritage Centre หรือ<br />

ศูนย์มรดกเมือง ซึ่งได้มีการทดลองตั้งขึ้นมาในปี2560-2561​<br />

เพื่อทําหน้าที่เป็นศูนย์ข้อมูลมรดกสถาปัตยกรรมและ​<br />

งานอนุรักษ์ฯ และให้คําปรึกษาในการจัดทําโครงการอนุรักษ์​<br />

ต่างๆ การฝึกอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน สถาปนิก และ<br />

องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น นอกจากนี้ยังทําหน้าที่เป็น<br />

platform ใหม่ให้คนรุ่นใหม่ที่ต้องการมาทํางานอนุรักษ์ใน<br />

รูปแบบใหม่ๆ และสนับสนุนให้เกิดการทํางานร่วมกันเป็น<br />

เครือข่ายกับองค์กรภาคประชาสังคมอื่นๆ และสถาบัน​<br />

การศึกษาเพราะองค์กรเรามีความเป็นกลางและเราสามารถ​<br />

เชื่อมต่อกับภาครัฐได้ แต่ภายหลังไม่ได้มีการดําเนินการต่อ​<br />

ถูกปิดตัวไปโดยไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน<br />

_ถ้าจะต้องทำงานด้านการอนุรักษ์ องค์กรและหน่วยงาน<br />

ที่เกี่ยวข้องควรเตรียมความพร้อม หรือควรพัฒนาด้าน<br />

อะไรบ้าง<br />

เรื่องการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมเป็นเรื่องที่ต้องมี​<br />

องค์ความรู้ ในประเทศที่เขาให้ความสําคัญกับการอนุรักษ์ฯ​<br />

สถาปนิกอนุรักษ์จะเป็นวิชาชีพแขนงพิเศษแยกออกมา​<br />

มีใบประกอบวิชาชีพเฉพาะหากต้องไปทํางานออกแบบ<br />

อนุรักษ์โบราณสถานหรือมรดกสถาปัตยกรรมที่ทางการ<br />

ขึ้นทะเบียนไว้ ตอนนั้นก็คิดแผนขึ้นมาถึงระดับที่ว่าสมาคมฯ​<br />

น่าจะมีการอบรมสถาปนิกอนุรักษ์ หรือสถาปนิกที่ต้องไป<br />

ออกแบบในพื้นที่อนุรักษ์เพื่อให้มีองค์ความรู้เช่น สถาปนิก​<br />

จะทํางานออกแบบ adaptive reuse ในอาคารที่มีคุณค่า<br />

แต่ไม่ได้ขึ้นทะเบียน เขาจะต้องรู้บ้างว่าคุณค่าของอาคารนั้น​<br />

คืออะไรเพื่อที่เขาจะไม่ไปทําลายคุณค่า น่าจะมีการจัด<br />

คอร์สสั้นๆ ที่ให้ความรู้และมอบประกาศนียบัตรว่าผ่าน<br />

การอบรม รวมไปถึงการจัดคอร์สอบรมบุคลากรขององค์กร​<br />

บริหารส่วนท้องถิ่นที่มีมรดกสถาปัตยกรรมให้บริหารตลอดจน​<br />

การเป็น one stop service ให้คําปรึกษาประชาชนหรือ<br />

องค์กรเหล่านั้นในการจัดทําโครงการออกแบบปรับปรุงหรือ​<br />

อนุรักษ์อาคาร การจัดทํารายชื่อผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ​<br />

ให้มี database ให้ครบทุกเรื่องที่เกี่ยวข้อง เปิด platform​<br />

ให้คนรุ่นใหม่หรือสมาชิกที่อยากทํางานในพื้นที่อนุรักษ์ย่าน<br />

เมืองเก่าให้ได้เข้ามาทําใต้ร่มของสมาคมฯ เป็นการสร้างคน​<br />

รุ่นใหม่ให้ได้ทํางานในพื้นที่จริงโดยเชิญสถาปนิกอนุรักษ์ที่<br />

ชํานาญการแล้วมาเป็นผู้อบรมหรือให้คําปรึกษา จะได้เกิด<br />

สายอาชีพใหม่ สร้างงานใหม่ๆ ให้เกิดทําให้วงการอนุรักษ์ฯ​<br />

พัฒนาขึ้นเป็นวิชาชีพใหม่ที่มีบุคลากรที่มีความเป็นมืออาชีพ ​<br />

ในขณะเดียวกันต้องมีการอบรมและการฝึกฝีมือช่างสาย<br />

อนุรักษ์ซึ่งกําลังขาดแคลนไปพร้อมๆ กัน<br />

นอกจากนี้ยังต้องสนับสนุนให้เกิดการวิจัยเรื่องวัสดุเก่าที่<br />

หายากและต้องใช้ในงานอนุรักษ์เพื่อรื้อฟื้นองค์ความรู้เอง<br />

วัสดุที่เหมาะสม กลับมาผลิตใหม่หรือให้เกิดการสร้าง<br />

นวัตกรรมใหม่ๆ ไปเลย ทั้งหมดนี้หากมีจุดเริ่มต้นที่สมาคมฯ​<br />

<strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong> <strong>21</strong> 26 27<br />

Refocus Heritage

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!