07.06.2018 Views

WE Smile Magazine October 2015

The In-Flight Magazine of Thai Smile Airways

The In-Flight Magazine of Thai Smile Airways

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

หากไม่ใช่เพราะเงา โลกนี้ก็คงไร้ซึ่งความงาม”<br />

คำากล่าวของจุนอิชิโร ทานิซากิ (Junichirō<br />

Tanizaki) ในบทกำาสรวลอันโด่งดังที่ชื่อว่า<br />

‘In Praise of Shadows’ ที่เน้นถึงความงามของ ‘เงา’<br />

นั้นคือสิ่งแรกที่ปรากฏขึ้นมาเมื่อได้เห็นนิทรรศการ<br />

ล่าสุดของชาติชาย ปุยเปีย และถ้อยคำานั้นดูจะชัดเจน<br />

มากขึ้นไปอีกในผลงานภาพวัตถุของเขา<br />

ผลงานชื่อ ‘Sunflowers’ ซึ่งเป็นหนึ่งในผลงานชิ้น<br />

เด่นในซีรีส์นั้นเป็นการตีความผลงานในชื่อเดียวกันที่<br />

แวน โกะห์วาดไว้ในปีค.ศ. 1888 คือตัวอย่างที่แสดงให้<br />

เห็นถึงวิธีที่ศิลปินวาง ‘เงา’ ให้อยู่เหนือ ‘แสง’ ผ่านการใช้<br />

วัสดุหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นขี้เถ้า กระดาษที่นำ าไปเผาไฟ<br />

รวมถึงสีระบายและวัสดุอื่นๆ ที่อยู่ในสตูดิโอเพื่อสร้าง<br />

เงาของดอกทานตะวัน ส่วนพื้นหลังนั้นชาติชายเลือกใช้<br />

ทองคำาเปลวเคลือบด้วยขี้ผึ้ง การเลือกใช้วัสดุเหล่านี้ รวม<br />

ถึงแนวคิดเรื่องการสลับที่แสงและเงาเปลี่ยนภาพที่อยู่<br />

ด้านหน้าให้เป็นความดำามืดซึ่งตัดกับพื้นหลังสีทองทำาให้<br />

ผลงานบนผืนผ้าใบ เป็นเหมือนภาพวาดจากยุคไบแซนไทน์<br />

ที่รังสรรค์ขึ้นมาเพื่อสดุดีปรมาจารย์ทางศิลปะในยุคนั้น<br />

รวมถึงแนวคิดเรื่องเงาและแสงของทานิซากิ<br />

ผลงานชิ้นนี้ไม่ได้เป็นเพียงตัวแทนการสรรเสริญ<br />

หรือการแสดงออกถึงพรสวรรค์ทางศิลปะของชาติชาย<br />

เท่านั้น แต่ยังเป็นเหมือนคำาวิพากษ์ของศิลปินที่มีต่อ<br />

แนวคิดวัตถุนิยมที่แพร่กระจายไปทั่วโลกศิลปะ เขาได้<br />

แรงบันดาลใจมาจากการประมูลภาพ Sunflowers ที่<br />

แวน โกะห์วาดไว้ในปีค.ศ. 1888 ในราคาถึง 37 ล้าน<br />

ดอลลาร์สหรัฐ ผลงานชิ้นนี้ยังเป็นเหมือนจุดเริ่มต้นให้<br />

ชาติชายหันมาสนใจการวาดภาพวัตถุ ซึ่งผลงานแนวนี้<br />

ของชาติชายก็ยังไม่เป็นที่รู้จักสักเท่าไหร่ โดยผลงานภาพ<br />

วัตถุชิ้นอื่นๆของเขานั้นก็คล้ายกับ Sunflowers ตรงที่<br />

เป็นการตีความหรือ ‘การจำาลองแนวคิด’ มาจากผลงาน<br />

ชิ้นเอกของศิลปินโมเดิร์นชื่อดังของยุโรป ไม่ว่าจะเป็น<br />

เรอดง (Redon) เซซานน์ (Cezanne) รวมถึงแวน โกะห์<br />

ซึ่งผลงานเหล่านี้มักสะท้อนถึงช่วงเวลาสำาคัญใน<br />

พัฒนาการด้านศิลปะของศิลปิน ผลงานภาพวาดวัตถุ<br />

ที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักของชาติชายนี้เองที่เป็นตัวชูโรงใน<br />

นิทรรศการ ‘ชาติชาย ปุยเปีย พื้นที่แห่งความโดดเดี่ยว’<br />

ซึ่งเกิดขึ้นจากการร่วมงานกันระหว่าง 100 ต้นสน<br />

แกลเลอรี่และ Thai Art Archives<br />

อันที่จริง นิทรรศการนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการที่ใหญ่<br />

กว่า นั่นคือโครงการเว็บไซต์ www.100artistarchives.com<br />

ที่มุ่งบันทึกผลงานและพัฒนาการของศิลปินร่วมสมัยของ<br />

ไทย และชาติชายก็ถือเป็นศิลปินคนแรกของโครงการ<br />

เว็บไซต์นี้จะเป็นเหมือนคลังข้อมูลผลงานและประวัติของ<br />

ของศิลปินไทย ภาคแรกของนิทรรศการ ‘ชาติชาย ปุยเปีย<br />

พื้นที่แห่งความโดดเดี่ยว’ ได้จบลงไปเมื่อเดือนสิงหาคม<br />

ที่ผ่านมา และภาคที่สองที่เพิ่งเริ่มจัดแสดงเมื่อเดือน<br />

กันยายนจะเปิดให้เข้าชมจนถึงเดือนเมษายนปีหน้า<br />

“Were it not for shadows, there would be<br />

no beauty.” These insightful words from<br />

Junichirō Tanizaki’s famous elegy ‘In Praise<br />

of Shadows’ emphasising the aesthetics of<br />

shadow over light are the first things that come<br />

to mind when viewing Chatchai Puipia’s recent<br />

exhibition; this is especially prominent in his<br />

still-life series.<br />

One of the more prominent works from this<br />

series, ‘Sunflowers’—a rendition of Van Gogh’s<br />

1888 masterpiece of the same subject—is a<br />

beautiful example how the artist weaves in<br />

the ethos of shadow over light. His technical<br />

acumen shows through, employing diverse<br />

mediums—ash from the burning of paper, paint<br />

and other studio materials, for the silhouetted<br />

sunflower, gold leaf for the background and a<br />

layering of wax. This use of selective substances<br />

and conceptual reversing of light and shadow<br />

transform the foreground into ebony obscurity<br />

against the golden background elevating the<br />

canvas into a Byzantine icon. A homage to the<br />

old master and Tanizaki.<br />

But this painting is not just a homage or a<br />

display of Puipia’s artistic brilliance, it is also the<br />

artist’s critique about the rampant materialism<br />

of the art world—aptly triggered by the auction<br />

of the 1888 version of Sunflowers for a record<br />

$37 million US dollars. It also proved to be the<br />

starting point of the artist’s foray into still-life,<br />

something he is not easily recognized for. In<br />

line with ‘Sunflower’, most of his still-life works<br />

are interpretations or ‘conceptual simulation’ of<br />

iconic works by European modernist masters<br />

such as Redon, Cezanne and Van Gogh and<br />

is a key phase in the artist’s evolution to the<br />

present. It is no wonder that this lesserknown<br />

series of still-life took centre-stage in<br />

the recently exhibited “Chatchai Puipia: Sites<br />

of Solitude—Still-Life, Self-Portraiture and the<br />

Living Archive”—a joint collaboration between<br />

Bangkok’s 100 Tonson Gallery and the Thai Art<br />

Archives.<br />

The exposition is in fact, a part of a larger<br />

project (www.100artistarchives.com) which aims<br />

to document contemporary progressive Thai<br />

artists. Chatchai is the inaugural artist. It will<br />

have a digital database of Chatchai’s work and

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!