16.02.2024 Views

ASA Journal 15/2023

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

112<br />

materials<br />

ทิศทางการออกแบบสถาปัตยกรรมและการก่อสร้างในปัจจุบันจึงมุ่งหน้า<br />

สู่การใช้พลังงานเป็นศูนย์ การเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality)<br />

หรือไปจนถึงการปลดปล่อยสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) โดย<br />

คาร์บอนที่เกิดจากช่วงการใช้พลังงานในอาคาร ปัจจุบันมีองค์ความรู้<br />

และเทคโนโลยีด้านการออกแบบประหยัดพลังงานและการใช้พลังงาน<br />

ทดแทน​ที่ช่วยลดส่วนนี้ได้ไม่ยาก แต่คาร์บอนที่มาจากวัสดุก่อสร้างและ<br />

ช่วงการก่อสร้างอาคาร หรือคาร์บอนแฝง (Embodied Carbon) ยังเป็น<br />

ส่วนที่ลดได้ยากกว่า เพราะต้องมีการปรับเปลี่ยนตั้งแต่ขั้นตอนการได้<br />

มาซึ่งวัตถุดิบ การผลิต การขนส่ง การใช้งาน ตลอดจนกระทั่งการ<br />

กำาจัดหรือนำากลับมาใช้ใหม่ อันเป็นการคิดตลอดวัฏจักรชีวิตของวัสดุ<br />

ตามวิธีการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment, LCA) ของ<br />

ผลิตภัณฑ์และอาคาร<br />

วัสดุก่อสร้างจึงมีบทบาทสำาคัญในการปลดปล่อยหรือดูดซับคาร์บอน ​<br />

วงการอุตสาหกรรมก่อสร้างได้พยายามพัฒนานวัตกรรมวัสดุและเปลือก<br />

อาคารมากมายเพื่อเป็นวัสดุยั่งยืน ส่งเสริมอนาคตการปลดปล่อยสุทธิ<br />

เป็นศูนย์ โดยสามารถแบ่งออกเป็น<br />

1. วัสดุก่อสร้างที่เป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutral<br />

Building Materials) คือ วัสดุที่ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์<br />

ที่ปลดปล่อยออกมาเท่ากับที่ดูดซับจากบรรยากาศ<br />

2. วัสดุก่อสร้างที่ปริมาณคาร์บอนติดลบ (Carbon Negative<br />

Building Materials) คือ วัสดุที่ดูดซับคาร์บอนได้เป็นปริมาณ<br />

มากกว่าที่ปลดปล่อยออกมา<br />

สำาหรับวัสดุก่อสร้างประเภทที่สองสามารถทำ าได้โดยการประยุกต์ 3 เรื่อง<br />

ร่วมกัน คือ การใช้แหล่งพลังงานยั่งยืน ระบบวิศวกรรมที่ใช้พลังงานอย่าง<br />

มีประสิทธิภาพ และการใช้เทคโนโลยีดักจับ และกักเก็บคาร์บอน<br />

<strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> ฉบับนี้ขอแนะนำาให้รู้จักวัสดุก่อสร้างที่ปริมาณคาร์บอน<br />

ติดลบ (Carbon Negative) 6 ประเภท ได้แก่ โลหะที่นำากลับมาใช้ใหม่<br />

(Recycled metals) อิฐคาร์บอนต่ำา (Low-carbon bricks) กระเบื้อง<br />

รักษ์โลก (Green tiles) ไม้เพื่อโครงสร้าง (Structural timber) เฮมพ์<br />

คอนกรีตหรือคอนกรีตใยกัญชง (Hempcrete) และคอนกรีตรักษ์โลก<br />

(Green or Carbon Negative Concrete)<br />

โลหะที่่นำากลับมิาใชิ้ ใหมิ่ (Recycled metals)<br />

กระบวนการผลิตโลหะปลดปล่อยคาร์บอนออกมาเป็นจำานวนมาก การนำา<br />

โลหะกลับมาใช้ใหม่จึงเป็นการลดการใช้พลังงานและการปล่อยคาร์บอน<br />

ได้โดยไม่ทำาให้ลดคุณสมบัติของโลหะลง ยิ่งการใช้ซ้ำาโดยไม่ต้อง<br />

ผ่านกระบวนการนำากลับไปใช้ใหม่ยิ่งลดคาร์บอนได้มากขึ้น อย่างการ<br />

ใช้โครงสร้างเสาและคานเหล็กซ้ำา หรือการนำาตู้คอนเทนเนอร์มาใช้ซ้ำา<br />

เป็นโครงสร้างอาคาร<br />

อิฐคาร์บอนต้ำ า (Low-carbon bricks)<br />

อิฐเป็นหนึ่งในวัสดุที่มีใช้กันมานานและยังคงเป็นวัสดุหลักในการก่อสร้าง<br />

การเผาอิฐที่อุณหภูมิมากกว่า 1000ºC เป็นการใช้พลังงานจากฟอสซิล<br />

อย่างมหาศาล สิ้นเปลืองแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอย่างที่ต้องมีบ่อขุดดิน<br />

The current trend in architectural design and construction is<br />

toward zero energy use, carbon neutrality, and even net zero<br />

emissions. Concerning the carbon emitted by building energy<br />

usage, there is currently knowledge and technology in energysaving<br />

design and the use of renewable energy that can help<br />

minimize this portion. However, the carbon emitted by construction<br />

materials and during building construction, known<br />

as embodied carbon, is more difficult to reduce because it<br />

necessitates changes in the processes of acquiring raw<br />

materials, manufacturing, transportation, use, and disposal<br />

or reuse, all of which must be considered throughout the life<br />

cycle of materials according to the Life Cycle Assessment<br />

(LCA) method of products and buildings.<br />

As a result, construction materials have an important role in<br />

either releasing or absorbing carbon. The construction industry<br />

has attempted to develop many innovative materials and<br />

building envelopes to be sustainable materials, promoting<br />

a net zero emissions future. These materials can be divided<br />

into two categories: carbon-neutral building materials, which<br />

emit the same amount of carbon dioxide as is absorbed from<br />

the atmosphere, and carbon-negative building materials, which<br />

absorb more carbon than they emit.<br />

For the latter type of building material, this can be done by<br />

applying three things together: using sustainable energy<br />

sources, energy-efficient engineering systems, and carbon<br />

capture and storage technology.<br />

In this issue of the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>, we will discuss some types<br />

of carbon-negative construction materials: recycled metals,<br />

low-carbon bricks, green tiles, structural timber, hemp concrete<br />

or hempcrete, and green or carbon-negative concrete.<br />

Recycled metals<br />

The metal manufacturing process releases large amounts of<br />

carbon. Recycling metals thus reduces energy use and carbon<br />

emissions without compromising the metal’s properties. The<br />

more it is reused without going through the recycling process,<br />

the more carbon can be reduced. Some examples are reusing<br />

steel columns and beam structures or reusing containers as<br />

building structures.<br />

Low-carbon bricks<br />

Brick is one of the materials used for a long time and is still<br />

the main construction material. Firing bricks at temperatures<br />

over 1000ºC uses enormous amounts of fossil energy. It wastes<br />

natural resources, such as having a pond dug in the ground<br />

for many raw materials. Producing low-carbon bricks using<br />

renewable materials and reducing the firing process is an<br />

important principle in reducing the energy and carbon content<br />

of this type of construction material. Since 2009, bricks have<br />

been produced from fly ash, a by-product of burning coal to<br />

produce electricity. It can use up to 40 percent of fly ash

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!