16.02.2024 Views

ASA Journal 15/2023

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

20<br />

theme<br />

ในปี 2558 สมาชิกกว่า 195 ประเทศภายใต้กรอบอนุสัญญา<br />

สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

(UNFCCC) ได้เดินทางมารวมตัวกัน ณ กรุงปารีส และตกลง<br />

ทำาอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เรียกว่า Paris Agreement<br />

(ความตกลงปารีส หรืออนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศปารีส) สมาชิกจากประเทศต่าง ๆ<br />

รวมทั้งประเทศไทยได้ตกลงที่จะมีส่วนร่วมในอนาคตของโลก<br />

ซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เพราะโลกของเรากำ าลัง<br />

ร้อนขึ้น หัวใจสำาคัญของข้อตกลงปารีสจึงมีเป้าหมายที่จะจำ ากัด<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกให้อยู่ที่ 2 องศาเซลเซียสเหนือระดับก่อน<br />

ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ข้อตกลงเสมือนแสดงนัยว่า การเพิ่ม<br />

ขึ้นของอุณหภูมินี้เป็นปริมาณสูงสุดที่โลกของเราสามารถรับได้<br />

แต่แท้จริงแล้ว เราควรตั้งเป้าหมายที่จะควบคุมให้อยู่ต่ำ ายิ่งกว่า<br />

นั้นด้วยซ้ำา นั่นคือไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส ซึ่งหากไม่มี<br />

การควบคุมอุณหภูมินี้ จะเกิดผลกระทบร้ายแรงต่าง ๆ เช่น<br />

สภาพอากาศที่รุนแรง ภัยธรรมชาติ การสูญพันธุ์ของพืช สัตว์<br />

และอื่น ๆ อีกมากมาย<br />

การคาดการณ์จากเส้นกราฟและทัศนคติ<br />

ในปี 2562 สถาปนิกชื่อดังระดับโลก Foster + Partners<br />

ได้เผยแพร่แถลงการณ์ด้านความยั่งยืน (Sustainability<br />

Manifesto) โดยในหน้าที่ 2 ของเอกสารดังกล่าว อ้างอิงถึง<br />

กราฟอุณหภูมิที่แสดงอุณหภูมิบรรยากาศของโลกตั้งแต่ปี<br />

2393 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่โลกได้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมแล้ว<br />

กราฟดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า ในปี 2562 อุณหภูมิของโลก<br />

เราแตะทะลุ 1 องศาเซลเซียสเหนือระดับก่อนการปฏิวัติ<br />

อุตสาหกรรมไปแล้วเรียบร้อย และกราฟดังกล่าว ยังแสดงอีก<br />

ว่า แม้ว่าเราจะปฏิบัติตามมาตรฐานการก่อสร้างที่กำ าหนดโดย<br />

หน่วยงานที่ได้รับการยอมรับระดับนานาชาติอย่างเคร่งครัด<br />

อุณหภูมิโลกก็จะเพิ่มสูงกว่าระดับช่วงก่อนการปฏิวัติอุตสาห-<br />

กรรมถึง 3 องศาเซลเซียสอยู่ดี แต่เป้าหมายของความตกลง<br />

ปารีสคือเราต้องจำากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิไว้ที่ไม่เกิน 1.5<br />

องศาเซลเซียส ช่องว่างระหว่างตัวเลขที่กราฟคาดการณ์ กับ<br />

เป้าหมายในความตกลงปารีส ต่างกันถึง 1.5 องศาเซลเซียส<br />

แล้วเราจะทำาให้เป้าหมายนี้เป็นไปได้ได้อย่างไร?<br />

การจำากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ได้หมายความว่า<br />

เราควรหยุดสร้าง และหันไปหาสังคมเกษตรกรรมอย่างใน<br />

ยุคก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมเสมอไป แต่เราจำาเป็นต้อง<br />

ค้นหาวิธีการที่แตกต่างออกไปเพื่อนำาทางเราให้ก้าวไปไกล<br />

กว่าโลกอุตสาหกรรมในปัจจุบัน ถ้าสิ่งที่พลิกให้เราก้าวหน้า<br />

ในด้านอุตสาหกรรม และเปลี่ยนโลกไปอย่างสิ้นเชิงในยุคนั้น<br />

คือกรอบความคิดที่แหวกแนว ต่างจากเดิมไปอย่างสิ้นเชิง<br />

ในยุคปัจจุบัน เราก็คงจำาเป็นต้องมีกรอบความคิดที่ต่างไป<br />

จากเดิมอย่างสิ้นเชิงในลักษณะเดียวกัน เพื่อลดช่องว่างของ<br />

อุณหภูมิที่สูงถึง 1.5 องศาเซลเซียส และด้วยแนวคิดการ<br />

ออกแบบที่ต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง ด้วยความมุ่งมั่น และ<br />

In 20<strong>15</strong>, over 195 countries who are members<br />

of the United Nations Framework Convention<br />

on Climate Change (UNFCCC) came together<br />

in Paris and agreed on an international treaty in<br />

what is to be known as the Paris Agreement or<br />

the Paris Climate Accords. The member states,<br />

including Thailand, agree to contribute to the<br />

greener future. The world is getting warmer. At<br />

the core of the Paris Agreement is the aim to limit<br />

the global average temperature to 2 °C above<br />

pre-industrial levels. The Agreement suggests this<br />

increase is the maximum our planet can take, but<br />

we should aim for even lower—at no more than<br />

1.5 °C. Without this temperature cap, there will be<br />

terrible consequences: extreme weather, natural<br />

disasters, extinction of species and so on.<br />

The Mathematics and the Mindset<br />

World-renowned architectural firm Foster +<br />

Partners published a Sustainability Manifesto<br />

in 2019. On page 2, it references a temperature<br />

graph that charts the planet’s atmospheric temperature<br />

since 1850, when the world had been<br />

industrialised. By 2019, we already hit 1 °C above<br />

pre-industrial levels. And even if we strictly follow<br />

the construction standards already in place by<br />

many certification bodies, we will reach 3 °C<br />

above pre-industrial levels anyway. But the target<br />

of the Paris Agreement is that we must limit the<br />

increase to +1.5 °C. There is a dramatic gap of<br />

1.5 °C. How can we even make this possible?<br />

Limiting the increase in the Earth’s temperature<br />

does not necessarily mean we should stop building<br />

and turn to the agrarian society of the pre-industrial<br />

era. But we need to find a different method to steer<br />

us beyond the current industrialised world. If it<br />

was the radical mindset of the time that brought<br />

us advancement of Industrialisation, we need an<br />

equally radical mindset to lower the dramatic 1.5 °C<br />

gap. With a radical design mindset, determination,<br />

and imagination, perhaps we can create a radically<br />

different future. So far, in what ways have we been<br />

radical?<br />

The Futuristic Past<br />

More than 20 years ago, an environmentally<br />

friendly housing development was completed in<br />

the suburb of London. Beddington Zero Energy<br />

Development (BedZED) is home to 100 houses,<br />

offices, and community facilities. To become a<br />

large-scale community with low carbon emissions,<br />

BedZED took many measures. Located in a<br />

country with temperate climate, the houses are

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!