11.05.2023 Views

ASA JOURNAL 11/2023

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

136<br />

Revisit<br />

THE BANGKOK SCHOOL FOR THE BLIND<br />

137<br />

ที่ผ่านมาอาคารโรงเรียนสอนคนตาบอดมักถูกพิจารณา<br />

ความสำาคัญทางประวัติศาสตร์ในฐานะสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่ที่ประยุกต์ใช้ระบบการก่อสร้าง ‘ต้นทุนต่ำา’ ที่กำาลังเป็น<br />

ที่นิยมในต่างประเทศ ราวกับว่าระบบโครงสร้างคอนกรีต<br />

สำาเร็จรูปของโรงเรียนสอนคนตาบอดเกิดขึ้นจากการหยิบ<br />

ยืมระบบการก่อสร้างสากลมาอย่างตรงไปตรงมา<br />

อย่างไรก็ตามระบบคอนกรีตสำาเร็จรูปที่เกิดขึ้นในประเทศ<br />

หนึ่งๆ หาได้จำาเป็นต้องเหมือนกับประเทศต้นกำาเนิดไม่<br />

โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนากับประเทศกำาลังพัฒนา<br />

ที่ระบบคอนกรีตสำาเร็จรูปมีศักยภาพและข้อจำากัดทางการ<br />

ก่อสร้างต่างกัน กล่าวคือแม้รูปแบบของระบบโครงสร้าง<br />

คอนกรีตสำาเร็จรูป ชิ้นส่วนองค์ประกอบ และรายละเอียด<br />

การติดตั้ง ที่ดูแล้วคล้ายคลึงกัน หรือในบางกรณีอาจ<br />

เหมือนกันจนแทบแยกความแตกต่างไม่ออก แต่เงื่อนไข<br />

ทางการผลิตซึ่งเป็นผลมาจากสภาพทางเศรษฐกิจและ<br />

แรงงาน และความสำาคัญที่ระบบนี้มีต่อผู้สร้างสรรค์อย่าง<br />

สถาปนิก ก็ล้วนเป็นเหตุปัจจัยสำาคัญที่ทำาให้คอนกรีตใน<br />

แต่ละแห่งนั้นมีความเฉพาะของตัวเอง<br />

การหวนกลับมาพูดถึงอาคารโครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูป<br />

ที่โรงเรียนสอนคนตาบอดในครั้งนี้ จึงไม่ใช่การค้นหา<br />

ต้นแบบของอาคารชนิดเดียวกันเพื่อความเข้าใจในเชิงราก-<br />

เหง้าอิทธิพลทางการออกแบบ แต่มุ่งพิจารณาคอนกรีต<br />

สำาเร็จรูปในฐานะกระบวนการที่สัมพันธ์กับปัจจัยด้าน<br />

เศรษฐกิจแรงงาน และการสร้างตัวตนของสถาปนิก ซึ่ง<br />

มีความสำาคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าอิทธิพลทางความคิดหรือ<br />

รูปแบบทางสถาปัตยกรรมแต่อย่างใด<br />

คอนกรีต ไม่ใช่วัสดุ แต่คือกระบวนการ<br />

ความเข้าใจว่าคอนกรีตสำาเร็จรูปที่สร้างขึ้นในประเทศนอก<br />

ยุโรปมีความเหมือนหรือคล้ายกับระบบสำาเร็จรูปต้นแบบ<br />

จากประเทศในแถบยุโรปนั้น ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากการ<br />

ทึกทักเอาว่าคอนกรีตคือ วัสดุ ในลักษณะที่ไม่ต่างจากไม้<br />

และหิน ซึ่งแท้จริงหาได้เป็นเช่นนั้นไม่<br />

คอนกรีตนั้นเกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ ไม่ใช่เกิด<br />

ขึ้นจากกระบวนการทางธรรมชาติ แม้วัสดุอย่างซีเมนต์<br />

ทราย กรวด และน้ำา จะเป็นส่วนประกอบของคอนกรีต แต่<br />

ลำาพังวัสดุเหล่านี้ไม่อาจสร้างคอนกรีตขึ้นมาเองได้ ยังต้อง<br />

อาศัยส่วนประกอบที่สำาคัญยิ่งอีกประการหนึ่ง อันได้แก่<br />

แรงงาน (ทั้งแรงงานทางปัญญาและแรงงานมือ) คอนกรีต<br />

จึงจะสามารถถือกำาเนิดขึ้น เพราะฉะนั้นแทนที่จะคิดว่า<br />

คอนกรีตคือวัสดุ จะเข้าท่ากว่าถ้ามองคอนกรีตในฐานะ<br />

‘กระบวนการ’ (process) ซึ่งมีแรงงานเป็นส่วนหนึ่งของ<br />

การผลิต<br />

Historically, the Bangkok School for the Blinds<br />

building was viewed as a modernist architecture that<br />

adopted the ‘low-cost’ construction approach prevalent<br />

in foreign countries at the time. The building’s<br />

prefabricated concrete architecture appeared<br />

to be the result of a straightforward adaptation<br />

of a globally used construction technique. Yet, a<br />

prefabricated concrete structure designed and<br />

constructed in one country was not necessarily<br />

identical of those built in the countries from which<br />

it originated. This is especially true when you look<br />

at the differing contexts between developed and<br />

developing countries and how they affect the<br />

different possibilities and limits of building construction.<br />

While the characteristics of prefabricated<br />

concrete structures, from structural members to<br />

installation details, may appear to be similar or<br />

identical in some cases, certain production-related<br />

conditions resulting from economic situations and<br />

labor, including the significant influence that this<br />

construction technology has on architects, who<br />

are the creators of architecture, are all important<br />

factors contributing to each architectural creation’s<br />

individual characteristic.<br />

Revisiting the prefabricated concrete architecture<br />

of the Bangkok School for the Blind is thus not a<br />

search for the pioneering model of other buildings<br />

with a similar architectural style that followed in the<br />

hope of obtaining a deeper understanding of the<br />

origin and influence of such a design. Instead, it<br />

seeks to examine prefabricated concrete as a process<br />

that was directly related to economic factors,<br />

labor conditions, as well as the architect’s evolving<br />

identity, which are no less important than the architectural<br />

ideas and styles that influenced him.<br />

Concrete is not a material but a process<br />

The belief that prefabricated concrete structures<br />

built outside of Europe are the same or similar to<br />

those built in European countries where the technology<br />

originated stems in part from the misconception<br />

that concrete is a material in the same way that<br />

wood and rocks are, when the reality is quite different.<br />

Concrete is made by a synthetic, rather than a<br />

natural, process. While concrete is composed of<br />

cement, sand, gravel, and water, these components<br />

cannot produce concrete on their own. Labor, both<br />

intellectual and manual, play an important role in the<br />

creation of concrete. Instead of regarding concrete<br />

as a material, it would have made more sense if we<br />

thought of it as a process in which labor constitutes<br />

as an integral part of its creation.<br />

3<br />

EAST ELEVATION<br />

WEST ELEVATION<br />

NORTH ELEVATION<br />

SOUTH ELEVATION<br />

4<br />

03<br />

รูปด้านอาคาร<br />

เครดิตภาพ:<br />

Taylor, Brian Brace<br />

and John Hoskin,<br />

Sumet Jumsai,<br />

Bangkok: Asia Books,<br />

1996., p.<strong>11</strong>2-<strong>11</strong>3<br />

04<br />

ทางเดินหน้าบันไดชั้น 2<br />

โรงเรียนสอนคนบอด<br />

ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2566<br />

เครดิตภาพ:<br />

โดยผู้เขียน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!