11.05.2023 Views

ASA JOURNAL 11/2023

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

26<br />

around<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

27<br />

Varudh Varavarn<br />

Vin Varavarn<br />

Architects<br />

Apichart<br />

Srirojanapinyo<br />

& Chanasit<br />

Cholasuek<br />

Stu/D/O Architects<br />

Vin Varavarn Architects<br />

‘The Possibilities of Transformation’<br />

มล. วรุตม์ วรวรรณ เล่าถึงความเชื่อของ VVA ในการใช้<br />

วัสดุท้องถิ่นและภูมิปัญญาการก่อสร้างในอดีตเป็นพื้นฐาน<br />

ในการพัฒนาสถาปัตยกรรมสู่อนาคตถูกถ่ายทอดผ่าน<br />

โครงการที่เลือกมานำาเสนอ ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พอเพียง<br />

พรรณนา เขาใหญ่ (Pannar Sufficiency Economy &<br />

Agriculture Learning Center) ทดลองการนำาแนวคิดศาสตร์<br />

พอเพียงมาใช้ก่อสร้างอาคารในชนบท และสร้างสรรค์<br />

สถาปัตยกรรมที่กลมกลืนกับบริบทและยุคสมัยปัจจุบันผ่าน<br />

ฝีมือช่างท้องถิ่นและวัสดุในพื้นที่ โดยไม่ยึดติดกับรูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมแบบประเพณีที่พบทั่วไป อาคารหลักของ<br />

โครงการใช้ประโยชน์วัสดุท้องถิ่น เช่น ดินสำาหรับฉาบผิว<br />

อาคาร และไม้ไผ่สำาหรับมุงหลังคา ส่วนอาคารห้องน้ำา<br />

เปลี่ยนปัญหาที่พบทั่วไปให้เป็นอาคารที่น่าสนใจด้วยการ<br />

ออกแบบรูปทรงอาคารที่โค้งไร้มุมอับและการก่อเรียงผนังอิฐ<br />

ที่เอื้อต่อการระบายอากาศ และสอดคล้องกับระดับความ<br />

เป็นส่วนตัว การทำางานในโครงการพรรณนาสร้างการเรียนรู้<br />

ระหว่างสถาปนิกและช่างท้องถิ่น และพิสูจน์ให้เห็นว่า<br />

สถาปัตยกรรมเป็นศาสตร์ที่มีชีวิตที่สามารถเปลี่ยนแปลง<br />

และเติบโตไปร่วมกับการพัฒนาและเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อ<br />

ตอบรับความต้องการของมนุษย์ได้<br />

โครงการบ้านราคาประหยัดสำาหรับคนในชุมชนคลองเตย<br />

ซึ่งสนับสนุนการก่อสร้างโดยกองทัพบก ด้วยการขนส่งวัสดุ<br />

ในพื้นที่แออัด และพื้นที่ก่อสร้างที่จำากัดเป็นเงื่อนไขสำาคัญ<br />

ของการออกแบบและก่อสร้าง นำามาสู่รูปทรงอาคารที่<br />

เรียบง่าย แต่สามารถปรับให้เข้ากับพื้นที่ก่อสร้างอาคาร<br />

แต่ละหลังที่มีรูปร่าง และขนาดต่างๆ กัน เจ้าของบ้านมี<br />

ส่วนร่วมในการเลือกสีสันที่แสดงบุคลิกเฉพาะตัวให้กับ<br />

หน้าบ้านของตน นอกจากนี้รายละเอียดการออกแบบสะท้อน<br />

ความต้องการเฉพาะของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม เช่น การกั้นห้อง<br />

เพื่อป้องปัญหาการคุกคามทางเพศ และการรองรับต่อเติม<br />

ในอนาคตสำาหรับบ้านเล็กที่มีผู้อยู่อาศัยจำานวนมาก<br />

stu/D/O<br />

‘Change and Continuity’<br />

อภิชาติ ศรีโรจนภิญโญ และชนาสิต ชลศึกษ์ เลือกนำาเสนอ<br />

สองโครงการของ stu/D/O เพื่อแสดงแนวคิดและทิศทาง<br />

ในการทำางานที่ใช้การสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมเพื่อแก้<br />

ปัญหาที่ตั้งโครงการและโปรแกรม โครงการแรกคือ Naiipa<br />

ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ใจกลางกรุงเทพมหานครในย่านพระโขนง<br />

สถาปนิกต้องการรักษาเก็บรักษาต้นไม้ใหญ่ที่แผ่กิ่งก้าน<br />

เป็นจุดเด่นของที่ตั้งโครงการและบรรยากาศธรรมชาติไว้<br />

และเปิดการเข้าถึงให้สาธารณะได้เข้ามาใช้ประโยชน์ การ<br />

Vin Varavarn Architects<br />

‘The Possibilities of Transformation’<br />

Through the selected architectural projects, M.L.<br />

Varudh Varavarn discussed the VVA’s belief in the<br />

utilization of local materials and inherited building construction<br />

know-how from the past as the foundation for<br />

the studio’s future architectural trajectory. With the<br />

Pannar Sufficiency Economics & Agriculture Learning<br />

Center, VVA experimented with adapting the sufficiency<br />

philosophy to building construction in rural areas of<br />

Thailand. The studio developed the architecture by<br />

using the skills and knowledge of local builders and<br />

locally sourced materials but breaking away stylistically<br />

from the conventions of traditional Thai architecture.<br />

The primary structure of the project makes intelligent<br />

use of local resources, such as the earth cladding<br />

exterior finish and bamboo used for the roof. With its<br />

curved structure that lacks closed corners and brick<br />

arrangement of walls that allow for natural ventilation<br />

while still giving the required level of privacy, the design<br />

of the restroom facility transformed what would<br />

ordinarily be regarded as drawbacks into interesting<br />

features. The collaboration between the architect and<br />

local builders for Pannar Sufficiency Economy &<br />

Agriculture Learning Center initiated a collaborative<br />

learning experience and demonstrated that architecture<br />

is a living, evolving entity that can grow alongside<br />

new developments and technologies to best meet the<br />

ever-changing needs of humans.<br />

The low-cost housing project is for the people in<br />

Klong Toey community of Bangkok funded by the Royal<br />

Thai Army. The site’s restricted space and poor accessibility<br />

were the causes of the project’s challenging<br />

logistics and construction. Such limitation led to the<br />

development of a simplistic design that could be<br />

adapted to the unique physical constraints of each plot<br />

of land on which a house was constructed, resulting<br />

in a variety of sizes and forms of the houses. The<br />

process involved the homeowners’ participation by<br />

asking them to choose the color that would be painted<br />

on the front of their houses, while the design of each<br />

house reflects its users’ specific needs, such as proper<br />

room partitioning that protects inhabitants from sexual<br />

harassment and the structural and spatial components<br />

of smaller houses with multiple inhabitants that allow<br />

for future expansions.<br />

stu/D/O<br />

‘Change and Continuity’<br />

Apichart Srirojanapinyo and Chanasit Cholasuek<br />

chose both of stu/D/O’s projects to exemplify the<br />

office’s conceptual approach and design approach,<br />

in which architecture serves as a means of solving<br />

5<br />

ออกแบบจึงเริ่มต้นด้วยสำารวจตำาแหน่งของต้นไม้เดิมแล้ว<br />

จึงวางตัวอาคารในที่ว่างที่เหลือ ด้วยเหตุนี้รูปทรงและความ<br />

สูงของอาคารจึงถูกกำาหนดให้สอดคล้องกับต้นไม้ โดยมี<br />

สะพานเชื่อมต่อกลุ่มก้อนอาคาร นอกจากนี้ยังออกแบบด้าน<br />

หน้าอาคารให้เล่นกับแสงเงาของต้นไม้ เชื่อมต่อกับภาพรวม<br />

ของเมือง และช่วยระบายอากาศและป้องกันแสงแดดให้กับ<br />

พื้นที่ด้านใน สถาปัตยกรรมถูกสร้างมาเพื่อเชื่อมต่อผู้คน<br />

กับธรรมชาติเข้าด้วยกันและรักษาจิตวิญญาณของที่ตั้ง<br />

6<br />

different site- and program-specific issues. The first<br />

project, Naiipa, located in Bangkok’s Phra Kanong<br />

district, demonstrates the architecture team’s endeavor<br />

to conserve the enormous trees growing and their<br />

branching canopies within the site, making them the<br />

project’s focal point and an integral component of<br />

the space that is open to public access. Prior to incorporating<br />

the built structures into the remaining free<br />

spaces, the design process commenced with a survey<br />

of the positions of the existing trees. It explains how<br />

the forms of the trees determine the shapes and heights<br />

of the buildings. The fronts of the buildings are meant<br />

to interact with the light and shadow cast under tree<br />

canopies, showing a connection to the surrounding<br />

urban environment and aiding in the ventilation and<br />

sun protection of interior spaces. The built structure<br />

was intended to reconnect people with nature while<br />

also preserving the spirit of the site.<br />

05<br />

ผลงานออกแบบ Naiipa<br />

โดย Stu/D/O<br />

06<br />

Vin Varavarn Architects<br />

กับผลงานบ้านราคา<br />

ประหยัด สำาหรับคนรายได้<br />

น้อยในชุมชนคลองเตย<br />

07<br />

ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พอเพียง<br />

พรรณนา เขาใหญ่ โดย<br />

Vin Varavarn Architects<br />

7

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!