11.05.2023 Views

ASA JOURNAL 11/2023

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

44<br />

theme<br />

CONCRETE CONSTRUCT CONCEPTION<br />

45<br />

02<br />

Photo Credit: Pornpas Siricururatana<br />

PARTS<br />

กลางศตวรรษที่ 20 ในวันที่คอนกรีตเป็นแรงขับเคลื่อน ความ<br />

เป็นไปได้ที่ซ่อนตัวอยู่ในคอนกรีต จุดไฟในความเป็นผู้สร้าง<br />

บันดาลให้พวกเขาเกิดความอยาก อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน<br />

“มีเพียงสถาปนิกในปัจจุบันเท่านั้น ที่รู้จักและเข้าถึงความสุข<br />

และความประทับใจ ที่เกิดจากการสร้างระเบียบ ภายใต้แรง<br />

โน้มถ่วง ให้กับพลังงานที่ยุ่งเหยิงและไม่มีที่สิ้นสุด ที่ซ่อนอยู่<br />

ในคอนกรีต” 1<br />

ใน ปี 1958 นิตยสารด้านสถาปัตยกรรมของประเทศญี่ปุ่น<br />

ชื่อ Kenchikubunka ยกนิตยสารสองฉบับเต็มให้กับ Special<br />

Issue ที่มีชื่อว่า คอนกรีต บทความที่ชื่อว่า “คอนกรีต พลังงาน<br />

ที่ไม่มีที่สิ้นสุด” ของ Kenzo Tange ในนิตยสารเล่มนั้นเป็นทั้ง<br />

จดหมายรัก และ คำาสารภาพบาป ต่อสิ่งที่เรียกว่า คอนกรีต<br />

หลังจากนั้นไม่นาน คอนกรีตก็กลายสภาพเป็นสิ่งที่ไม่แปลก<br />

ใหม่อีกต่อไป กลับกัน อาคารคอนกรีตที่สร้างในยุคก่อน เริ่ม<br />

มีอายุมากพอที่จะสร้างปัญหา “ในช่วงปี 1960s ผมไม่ได้ไม่<br />

ชอบคอนกรีต แต่รู้สึกว่ามันไม่น่าไว้ใจ…พอต้น 70s ช่วงวิกฤต<br />

น้ำามัน ..ความขาดแคลนวัสดุ ทำาให้เราเห็นว่าคอนกรีตถูกหล่อ<br />

ชุ่ยแค่ไหน ความมั่นใจต่อคอนกรีตก็ค่อยๆ ลดลง” 2<br />

ประโยคของ Arata Isozaki แสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลง<br />

ของทัศนคติสถาปนิกต่อคอนกรีต จากการใช้คอนกรีตแบบ<br />

เต็มเหนี่ยวเพื่อแสดงตัวตน กลายเป็นการใช้ที่มีการควบคุม<br />

อย่างรอบคอบมากขึ้น จากผู้สร้างภาพรวม สู่ส่วนกระกอบ<br />

ของระบบ เป็นการปรับกระบวนทัศน์ครั้งใหญ่ในการใช้<br />

คอนกรีต<br />

ความคลั่งไคล้ในอดีตมันอันตรธานหายไป หรือมันแค่กลาย<br />

ร่างเป็นการแฝงตัวแสดงนัยยะอย่างนอบน้อมขึ้น อะไรคือ<br />

กลไกของคอนกรีต ที่ทำาให้ทันทีที่สูญเสียความพิเศษของ<br />

ความเป็นสมัยใหม่ไป ก็สามารถเริ่มหน้าที่ใหม่ ในการช่วยพา<br />

สถาปัตยกรรมก้าวข้ามความเป็นสมัยใหม่ต่อไปได้<br />

ความสามารถในการเป็นทั้ง โครงสร้าง พื้นผิว และกรอบ<br />

อาคาร ของคอนกรีต ทำาให้คำาว่า “สถาปัตยกรรมคอนกรีต”<br />

มักถูกใช้อย่างจำากัดในการพูดถึงสถาปัตยกรรมที่ใช้คอนกรีต<br />

เป็นภาพรวม แต่จริงๆแล้ว ยังมีพื้นที่อีกมากที่คอนกรีตช่วย<br />

ผลักขีดจำากัดของผู้ออกแบบ เป็นกลุ่มงานที่คอนกรีตอาจไม่ได้<br />

เป็นพระเอก หรือเป็นการใช้คอนกรีตควบคู่กับวัสดุอื่นๆ น่า-<br />

เสียดายที่วาทกรรมว่าด้วยคอนกรีต มักถูกจำ ากัดในพื้นที่ของ<br />

“สถาปัตยกรรมคอนกรีต” ทั้งๆ ที่ ความเป็นไปได้ที่แท้จริง<br />

ของมัน อาจซ่อนอยู่ในพื้นที่ที่เหลือก็เป็นได้ คอนกรีตยังคง<br />

ต้องการวาทกรรมเพิ่มเติม นอกเหนือจากขอบเขตที่จำ ากัดนี้<br />

PARTS<br />

In the mid-20 th century, concrete unleashed energy<br />

in architects, allowing them to harness and push<br />

their boundaries of creativity and ambition.<br />

"Reinforced concrete gives us unlimited power. ...<br />

only modern architects know the joy and excitement<br />

of providing order to such infinite energy<br />

in the field of gravity, to the chaotic energy that<br />

concrete contains." 1 In 1958, a Japanese architectural<br />

magazine, Kenchiku Bunka, devoted two<br />

issues to concrete. The above article, "Concrete,<br />

Infinite Energy" by Kenzo Tange, was a love letter<br />

and a confession. It shows an architect's euphoric<br />

confidence in concrete at that moment.<br />

However, a little later, when a concrete building<br />

built in the past was old enough to cause problems,<br />

concrete shed its myths. "In the 1960s,<br />

I didn't dislike concrete, but I thought it was<br />

unreliable. ...In the early 70s, around the time of<br />

the oil crisis, there was a construction boom. With<br />

the shortage of materials, people began to realize<br />

how carelessly concrete was being cast and<br />

gradually lost faith in it." 2<br />

This phrase from Arata Isozaki represents how the<br />

use of concrete shifted over time. The once-bold<br />

use of concrete gives way to a more controlled<br />

usage, from dominant to restrained and carefully<br />

integrated as parts within the whole. It was a paradigm<br />

shift for concrete. Have all the crazes until<br />

then disappeared entirely? Or has it just become<br />

implicit, submerged in form? How can a material<br />

that loses its special status associated with<br />

modernity become a tool to overcome modernity<br />

itself?<br />

Concrete is universal. Even when not visible,<br />

concrete provides both support and movement,<br />

continuity and isolation, stability and destruction<br />

in architecture. It has always been a medium for<br />

architects to experiment with a wide range of<br />

ideas. However, despite its universality, including<br />

its partial use or invisible presence, the discourse<br />

on concrete is often limited to a particular realm;<br />

concrete architecture, a realm of architecture<br />

built entirely of concrete. Concrete needs further<br />

discourse beyond this limited realm.<br />

02<br />

ภาพโครงหลังคา คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร์ มหา-<br />

วิทยาลัยสงขลานครินทร์<br />

โดย อมร ศรีวงศ์ และ<br />

ดร.รชฏ กาญจนะวณิชย์<br />

โครงเหล็ก space frame<br />

ที่วางบนเสาคอนกรีต<br />

ยื่นไปรับชิ้นส่วนรางน้ำา<br />

คอนกรีต ที่ช่วยรับชิ้นส่วน<br />

หลังคาคอนกรีตรูปโดมต่อ<br />

ถ้าเปรียบเทียบกับห้องสมุด<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่<br />

อมร ศรีวงศ์ออกแบบร่วมกับ<br />

อรุณ ชัยเสรี หลังจากนั้น<br />

ที่ให้คอนกรีต ทำาหน้าที่<br />

เป็น space frame ด้วย<br />

ในตัว โครงหลังคาเหล็ก<br />

ในภาพ อาจจะถูกมองว่า<br />

เป็นความลักลั่นของระบบ<br />

โครงสร้าง แต่ในอีกมุม-<br />

หนึ่ง อาจกล่าวได้ว่า โครง<br />

space frame เหล็กเหล่านี้<br />

ทำาหน้าที่เป็นตัวช่วย ลด<br />

ขนาดและความซับซ้อน<br />

ของกระบวนการก่อสร้าง<br />

ช่วยสร้างความแข็งแรง<br />

ที่ยืดหยุ่น

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!