11.05.2023 Views

ASA JOURNAL 11/2023

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

142<br />

Revisit<br />

THE BANGKOK SCHOOL FOR THE BLIND<br />

143<br />

The architect opted for prefabricated<br />

concrete elements and used them in<br />

such a way that challenges the notion<br />

of insecurity by unapologetically<br />

revealing the exposure of the joint<br />

details between individual prefabricated<br />

components. He even chose<br />

colors that would draw attention<br />

to the prefabricated elements, both<br />

structural and non-structural,<br />

heightening passersby’s interest in<br />

the building.<br />

10<br />

<strong>11</strong><br />

10<br />

ดีเทลปุ่มเหล็กฝังพื้นรอบ<br />

โคนเสา ช่วยเตือนผู้พิการ<br />

ทางสายตาไม่ให้เดินชนเสา<br />

เครดิตภาพ:<br />

โดยผู้เขียน<br />

<strong>11</strong><br />

ดีเทลหัวเสาแต่ละชั้น<br />

ออกแบบเป็นบ่ายื่นไปรับ<br />

เครดิตภาพ:<br />

โดยผู้เขียน<br />

อย่างไรก็ตามสำาหรับ ดร. สุเมธ แล้ว กลับมองเห็นเรื่องนี้<br />

เป็นโอกาสแสดงผลงานให้เป็นที่ยอมรับ เพราะแทนที่จะ<br />

ซ่อนปกปิดรอยต่อขององค์ประกบต่างๆ ให้ดูเสมือนอาคาร<br />

ก่อสร้างแบบโดยทั่วไป (เช่น การก่อสร้างบ้านจัดสรรและ<br />

คอนโดส่วนใหญ่ในสมัยนี้) ซึ่งคงจะเป็นที่คุ้นเคยในการรับรู้<br />

ของผู้คนมากกว่า เขากลับใช้ระบบชิ้นส่วนคอนกรีตสำ าเร็จรูป<br />

เพื่อท้าทายความรู้สึก ‘ไม่มั่นคงแข็งแรง’ ด้วยการแสดง<br />

รอยต่ออาคารที่ประกอบจากชิ้นส่วนสำาเร็จต่างๆ อย่าง<br />

เปิดเผย ไม่ปกปิด มิหนำาซ้ำายังใช้สีสันเน้นความสำาคัญของ<br />

แต่ละองค์ประกอบ ทั้งโครงสร้างและไม่ใช่โครงสร้าง ทำาให้<br />

ผู้พบเห็นสะดุดตาและสนใจ<br />

โครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปของอาคารโรงเรียนสอนคน-<br />

ตาบอด ประกอบด้วยชิ้นส่วนคานหลักและคานซอยแบบ<br />

เข็ม I-Section แผ่นพื้นที่ออกแบบเป็นแผ่นๆ มาต่อกัน<br />

โดยแต่ละแผ่นมีน้ำาหนักเบาพอที่คน 2 คน จะยกได้ และ<br />

สุดท้ายคือเสา ที่สุดท้ายแล้วก็สามารถผลิตด้วยกรรมวิธี<br />

สำาเร็จรูปเช่นกัน ส่วนฐานรากใช้วิธีหล่อในที่โดยทำาเป็น<br />

เบ้าตัวเมียเพื่อให้นำาเสาสำาเร็จรูปมาติดตั้งอย่างง่ายดาย<br />

หลังจากโรงเรียนสอนคนตาบอด ดร. สุเมธ ยังใช้ระบบ<br />

โครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปที่พัฒนาขึ้นนี้ไปประยุกต์ใช้กับ<br />

การออกแบบก่อสร้างของตนเองอีกหลายหลัง ไม่ว่าจะเป็น<br />

สำานักงาน DAIKIN ที่สะพานหัวช้าง และอาคาร มินิแฟลต<br />

“เฉลิมนิจคอร์ต” อาคารพักอาศัยชุดในซอยสุขุมวิท 53<br />

ที่ ดร. สุเมธ เป็นทั้งเจ้าของและผู้ออกแบบเอง (ปัจจุบันทั้ง<br />

สองอาคารถูกรื้อถอนไปแล้ว) อันแสดงให้เห็นถึงการต่อยอด<br />

ความสำาเร็จจากระบบโครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปจาก<br />

โรงเรียนสอนคนตาบอด<br />

ในคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ระบบชิ้นส่วนคอนกรีตสำาเร็ตรูป<br />

ซึ่งกำาลังท้าทายอาชีพสถาปนิกในยุโรปอย่างถึงรากถึงโคน<br />

กลับเกื้อหนุนให้สถาปนิกในอีกซีกโลกหนึ่งใช้เป็นโอกาส<br />

ในการสร้างตัวตนทางอาชีพการงานขึ้น ข้อค้นพบเล็กๆ<br />

ที่ได้จากการหวนกลับไปพิจารณาคอนกรีตสำาเร็จรูป ณ<br />

โรงเรียนสอนตาบอดในครั้งนี้ คงพอจะทำาให้เราตระหนักถึง<br />

ความสำาคัญของคอนกรีตในฐานะกระบวนการที่มีเงื่อนไข<br />

อันเป็นแบบฉบับเฉพาะตัว และไม่ด่วนตัดสินสาระสำาคัญ<br />

ของมันจากภาพลักษณ์ รูปแบบ หรืออิทธิพลทางความคิด<br />

แต่เพียงอย่างเดียว<br />

References:<br />

Anon. “Prefabs and Rationalized Building” อาษา, 1 (กันยายน 2515): ไม่ปรากฎเลขหน้า.<br />

Forty, Adrian. (2012). Concrete and Culture: A Material History. 1st ed. London: Reaktion Books.<br />

Taylor, Brian Brace (1996). Sumet Jumsai. Bangkok: Asia Books.<br />

สัมภาษณ์ ดร. สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา, สถาปนิกและศิลปิ นแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปั ตยกรรม<br />

(สถาปั ตยกรรมแบบร่วมสมัย) ประจำปี 2541, 8 กุมภาพันธ์ 2566)<br />

Dr. Sumet, however, saw it as an opportunity to<br />

increase the visibility of his work. Instead of concealing<br />

the traces of structural member joineries<br />

to create a more typical-looking building (such as<br />

homes in housing estates or condominiums), which<br />

would be more agreeable to the general public, he<br />

opted for prefabricated concrete elements and used<br />

them in such a way that challenges the notion of insecurity<br />

by unapologetically revealing the exposure<br />

of the joint details between individual prefabricated<br />

components. He even chose colors that would draw<br />

attention to the prefabricated elements, both structural<br />

and non-structural, heightening passersby’s<br />

interest in the building.<br />

The Bangkok School for the Blind’s prefabricated<br />

structure is made up of girders and I-section beams,<br />

as well as floor slabs that were all connected together.<br />

Each slab could be carried without difficulty<br />

by two men. The columns were likewise prefabricated,<br />

but the foundation was built on site with<br />

a design that allowed the columns to be simply<br />

erected.<br />

Dr. Sumet had used the newly developed prefabricated<br />

concrete method in several more projects<br />

after the Bangkok School for the Blind. Among<br />

them were the DAIKIN headquarters in Bangkok’s<br />

Rajathevi area and ‘Chalermnit Court,’ a miniflat<br />

building on Soi Sukhumvit 53 Street owned<br />

and designed by Dr. Sumet (both buildings were<br />

demolished). These projects are evidence of the<br />

architect’s successful architectural endeavor,<br />

which began with the prefabricated concrete<br />

structure of the Bangkok School for the Blind.<br />

In the 1970s, when prefabricated concrete systems<br />

were shaking architects in the West to the core, the<br />

same technology was aiding an architect on the<br />

other side of the world in establishing a career and<br />

architectural identity. A small discovery from this<br />

revisit at the Bangkok School for the Blind this time<br />

around was the realization of the importance of<br />

concrete as a process with its own unique set of<br />

conditions. Its essence, thus, should not be judged<br />

solely by the visuals, styles, or ideological influences<br />

that lead to its conception.<br />

พินัย สิริเกียรติกุล<br />

สำเร็จการศึกษาทาง<br />

ด้านสถาปั ตยกรรมและ<br />

สถาปั ตยกรรมไทยจาก<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

และประวัติศาสตร์<br />

สถาปั ตยกรรมในระดับ<br />

ดุษฎีบัณฑิตจากมหา-<br />

วิทยาลัยคอลเลจลอนดอน<br />

ปั จจุบันดำรงตำแหน่ง<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

วังท่าพระ โดยมีผลงาน<br />

หนังสื อล่าสุดได้แก่ เปิ ด<br />

คลังเอกสาร อมร ศรีวงศ์<br />

(2563) ซึ่งศึกษาผลงาน<br />

สถาปั ตยกรรมของ<br />

“สถาปนิก” ผู้ซึ ่งไม่เคย<br />

เรียนในโรงเรียนสถา-<br />

ปั ตยกรรม<br />

Pinai Sirikiatikul<br />

studied Architecture<br />

and Thai Architecture<br />

at Faculty of Architec<br />

ture, Silpakorn University,<br />

Bangkok, and<br />

completed his PhD<br />

in 2012 at University<br />

College London. He is<br />

currently an assistant<br />

professor at Faculty of<br />

Architecture, Silpakorn<br />

University, Bangkok.<br />

His recent book, Unpacking<br />

the Archives:<br />

Amorn Srivongse, released<br />

in 2020 explores<br />

the architectural works<br />

of the lesser-known,<br />

self-taught architect,<br />

Amorn Srivongse.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!