10.07.2015 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

224.3 คิดอยางพินิจพิเคราะหถึงภาวะอารมณตางๆ ที่เกี่ยวของกับตนเองและผูอื่นเล็งเห็นไดวาความรูสึกเหลานั้นชัดเจน คงอยู มีเหตุผล และสงผลตอการปฏิบัติของตนเชนไร4.4 บริหารจัดการภาวะอารมณของตนและผูอื่นได ลดความรุนแรงของอารมณทางลบได แสดงออกทางอารมณทางบวก โดยไมบิดเบือนหรือมีกลวิธีในการปองกันตนเองมากเกินไปซึ่ง Mayer และ Salovey เห็นวากระบวนการของเชาวนอารมณควรพัฒนาจากขั้นแรกๆที่ไมซับซอนไปสูกระบวนการของจิตใจที่บูรณาการกันอยางดีมากขึ้นในขั้นตอๆ ไปองคประกอบของเชาวนอารมณตามแนวคิดของ WeisingerWeisinger (1998 อางใน รัตติกรณ จงวิศาล, 2543) ไดแบงเชาวนอารมณเปน 2 สวนคือ1) สวนภายในตนเองเปนเรื่องการพัฒนาและใชเชาวนอารมณ (Increasing Your Intelligence)และ 2) เกี่ยวกับการใชเชาวนอารมณระหวางบุคคลเพื่อใหความสัมพันธกับคนอื่นๆ ดีขึ้น (UsingYour Emotional Intelligence in Your Relations with Others) ทั้ง 2 สวนมีรายละเอียด ดังตอไปนี้1. การใชเชาวนอารมณภายในตัวบุคคล (Increasing Your Intelligence) ประกอบดวย1.1 การพัฒนาการตระหนักรูตนเองใหสูงขึ้น (Developing High Self-awareness)หมายถึง การตระหนักรูตนเองสามารถสังเกตการกระทําของตนเองได สามารถมีอิทธิพลตอการกระทําของตนเองเพื่อกอใหเกิดประโยชนตอตนเอง1.2 การจัดการกับอารมณของตนเอง (Managing Your Emotions) หมายถึง การเขาใจอารมณเหลานั้น และใชความเขาใจนั้นจัดการกับสถานการณใหไดผลดี เนื่องจากอารมณเปนผลมาจากการมีปฏิสัมพันธกันระหวางความคิดของตนเอง แตอารมณทางลบ โดยทั่วๆ ไปเกิดจากสถานการณที่เปนปญหา ดังนั้นความสามารถในการจัดการ คือ การใหระดับหรือความรุนแรงของอารมณลดลงมาอยูในระดับที่จะทําใหตนเองพัฒนารูปแบบพฤติกรรมใหมและดีกวาเดิมเปนความรูสึกผอนคลายได เมื่อตองอยูภายใตสถานการณที่มีความกดดัน และสามารถควบคุมอารมณหรือรักษาอารมณตนเองได

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!