28.03.2024 Views

ASA Journal 16/2023

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

100<br />

theme / review<br />

สตูดิโอมิติ เป็นหนึ่งในสตูดิโอออกแบบที่มี<br />

ผลงาน และแนวทางการออกแบบที่ชัดเจน<br />

แฝงไปด้วยมิติที่หลากหลาย ทังในเชิงการใช้<br />

งานที่ว่าง และวัสดุประกอบรวมเป็นอาคารที่<br />

มีลักษณะหนักแน่น แต่ล่่นไหลทางบริบทไม่<br />

หยุดนิงนอกเหน่อจากการออกแบบพ่ นที่ว่างใน<br />

พิกัดแกน x และ y ที่แสดงถึงความสัมพันธ์์ใน<br />

ระยะความกว้าง และความยาว ทางสตูดิโอมิติ<br />

ให้ความสำค ัญกับแกน z ซึ่งถ่อเป็นมิติเชิงลึก<br />

ของการออกแบบสถาปัตยกรรมมากกว่ามิติ<br />

ด้านอ่่น ๆ ในเร่่องของรูปแบบความสัมพันธ์์<br />

และปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวเน่องกัน เกิดเป็น<br />

กระบวนการออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ และ<br />

สะท้อนถึงรูปแบบ เง่่อนไขที่เฉพาะเจาะจง<br />

ไม่ซำรููปแบบเดิม<br />

ความเหม่อนและต่างกันของสองผู้ก่อตัง<br />

สตูดิโอมิติ ค่อ คุณประกิจ กัณหา และคุณ<br />

เผดิมเกียรติ สุขกันต์ ค่อส่วนผสมของผลงาน<br />

ออกแบบของสตูดิโอ ที่คำนึึงถึง “คน” เป็น<br />

องค์ประกอบหลัก ทังผู้ออกแบบ ทีมงาน<br />

เจ้าของ วิศวกรรวมถึงช่างผู้รับเหมา และ<br />

สภาพบริบทแวดล้อมของโครงการ ซึ่งตั งอยู่<br />

บนความหลากหลายที่แปรเปลี่ยนไปตาม<br />

ช่วงเวลา และประสบการณ์ที่ต่างกันไปจึง<br />

ต้องอาศัยความเข้าอกเข้าใจในทุก ๆ มิติ ที่<br />

เกี่ยวเน่องกับการออกแบบในแต่ละโครงการ<br />

ในการเริมต้นในแต่ละงานออกแบบของทาง<br />

สตูดิโอจึงให้เวลาในการศึกษา เก็บข้อมูล เพ่อ<br />

ค้นหาและทำาความเข้าใจมิติที่เกี่ยวข้องผ่าน<br />

กระบวนการคิดทางสถาปัตยกรรม ซึ่งจะนำา<br />

ไปสู่ความเป็นไปได้ใหม่ของการออกแบบทัง<br />

ในเชิงพ่นที่ การใช้งาน วัสดุ และความคุ้มค่า<br />

ในแต่ละโครงการที่แตกต่างกันออกไป<br />

สตูดิโอมิติจึงเริมต้นทดลองวัสดุอาคารที่เล่อกใช้<br />

และทำาความรู้จักพฤติกรรมของวัสดุที่ต่างกัน<br />

ออกไปในแต่ละบริบทแวดล้อม ผ่านกระบวน-<br />

การลองผิดลองถูกหลายครัง จนนำาไปสู่ความ<br />

เข้าใจ และการประยุกต์ใช้วัสดุในรูปแบบต่าง ๆ<br />

ที่หลากหลาย ปรับแต่ง เพิม ลด ตัด ดัด ให้ต่าง<br />

ไปจากเดิม และนำามาใช้ในเก่อบทุก ๆ ส่วนของ<br />

อาคาร ส่งผลต่อพ่นที่ว่างทางสถาปัตยกรรมได้<br />

ในหลากหลายมิติ โดยที่ยังสามารถตอบสนอง<br />

ความต้องการพ่นฐานของความต้องการจาก<br />

ลูกค้า งบประมาณ และสามารถต่อยอดทักษะ<br />

ของช่างฝีม่อในแต่ละพ่นที่ได้<br />

บนความไม่รู้ ความไม่แน่ใจ จนเลยไปถึง<br />

ความกลัว เป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่ทางสตูดิโอ<br />

มิติเผชิญ และพยายามก้าวผ่านสิงที่กล่าวมา<br />

ข้างต้นอยู่เสมอ โดยผ่านกระบวนสร้างความ<br />

เข้าใจอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพ่อท้าทายการ<br />

เปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ อย่างต่อเน่อง ดังเช่น<br />

ผลงานออกแบบสำนัักงานแห่งใหม่ของ<br />

สตูดิโอมิติ ในซอยลาดพร้าว 71 ที่แสดงถึง<br />

การเติบโตจากสำน ักงานแห่งเดิมที่เป็นภาพ<br />

อาคารที่ใช้วัสดุอิฐมอญเป็นวัสดุหลัก และ<br />

ย้ายมาที่แห่งใหม่ ซึ่งยังคงแสดงความชัดเจน<br />

ในเร่องรูปแบบ และวิธีีการที่สะท้อนตัวตน<br />

ของสตูดิโอมิติอย่างลงตัว<br />

บ้านแถวหนึ่งคูหา จำานวน 3 ชัน ปิดล้อมไปด้วย<br />

วัสดุอิฐบล็อกสีเทา รูปทรงตันแต่มีลวดลาย และ<br />

รูปทรง ที่ดึงดูดสายตาได้ เน่องด้วยตำาแหน่ง<br />

ที่ตังอยู่ตรงหัวมุม ซึ่งสามารถมองเห็นได้ชัด<br />

จากถนนภายในซอย อาคารสำน ักงานแห่งน้<br />

จึงพยายามที่จะส่อสารตัวตนของสตูดิโอมิติ<br />

กับบริบทแวดล้อม ผ่านรูปแบบของ façade<br />

อาคารที่สามารถมองเห็นได้จากทังด้านหน้า<br />

และด้านข้าง โดยสถาปนิกเองได้ตังโจทย์การ<br />

เล่อกใช้วัสดุที่ราคาไม่สูง สามารถจัดการได้ง่าย<br />

และปรับเปลี่ยนรูปแบบหร่อดัดแปลงได้ จึงได้<br />

เล่อกใช้ อิฐบล็อกเบา มาเป็นวัสดุหลัก ที่ทำาให้<br />

อาคารสำนัักงานแห่งน้สามารถส่อสารตัวตน<br />

ออกไปกับสภาพแวดล้อมได้<br />

ด้วยเหตุบังเอิญที่สังเกตเห็นอิฐบล็อกรูปแบบน้<br />

ที่แตกหักจากการตัดแต่งในพ่นที่ก่อสร้างของ<br />

โครงการหนึ่งที่ทางสตูดิโอมิติเป็นผู้ออกแบบ<br />

ในระหว่างที่ลงพ่นที่สำารวจความเรียบร้อย<br />

สถาปนิกจึงเกิดความสนใจในรูกลวงรูปทรง<br />

กระบอกภายในที่แตกออกจากกันเป็นรูปทรง<br />

ครึ่งวงกลม วัสดุชินน้ค่อ อิฐบล็อกเบา หร่อ<br />

ในช่่อที่เรียกว่า EKOBLOK ที่ถูกออกแบบ<br />

มาให้นำาหนักเบาแต่แข็งแรง ซึ่งทำาให้วัสดุมี<br />

รูกลวงอยู่ภายด้านใน ผู้ออกแบบต้องการ<br />

เปลี่ยนคุณสมบัติเดิมของวัสดุอิฐบล็อกเบาน้<br />

ให้แตกต่างไปจากเดิม และสร้างความเป็นไป<br />

ได้ใหม่ ในเชิงรูปทรง การติดตัง และการใช้<br />

งานใหม่ให้กับตัววัสดุ<br />

เทคนิคที่ทางผู้ออกแบบได้นำามาใช้จัดการกับ<br />

วัสดุอิฐบล็อกเบาน้ค่อ การนำต ัวอิฐบล็อกเบา<br />

ผ่าครึ่งตามแนวยาว แล้วนำจ ัดเรียงให้เป็น<br />

Pattern ใหม่ โดยการนำอิิฐบล็อกที่ถูกผ่าครึ่ง<br />

มาติดตังกับโครงเหล็ก โดยการสลับรูปทรง<br />

กลวงด้านในมาไว้ทางด้านนอกแทน จัดเรียงให้<br />

เป็นแนวไปทางด้านนอนวางสลับต่อเน่องกันไป<br />

จนเต็มแนวผนังทังทางด้านข้าง ด้านหน้า และ<br />

ด้านหลังของสำนัักงาน เพ่่อปิดล้อมความเป็น<br />

ส่วนตัว เกิดการสร้างสรรค์พ่นที่ภายในอาคาร<br />

สำนัักงานอย่างเต็มรูปแบบ ทังการทำางาน พูด<br />

คุย ประชุม ทานอาหารหร่อแม้แต่การสังสรรค์<br />

ไม่รบกวนเพ่่อนบ้านใกล้เคียงที่อยู่ติดกัน<br />

ในขณะเดียวกัน การสร้างพ่นที่ปิดล้อมอาคาร<br />

ก็ทำาให้อาคารดูทึบตัน ลมไม่พัดผ่าน ทางผู้ออก-<br />

แบบจึงทำาให้แนวผนังบางส่วนสามารถเปิดหร่อ<br />

ปิดได้ เพ่่อให้อากาศจากภายนอกไหลผ่านเข้า<br />

ไปสู่พ่ นที่ภายในได้ ผ่านการใช้วัสดุเหล็ก อย่าง<br />

โครงเหล็กฉาก และเหล็กแบน นำามาทำาเป็น<br />

โครงเคร่าสำาหรับติดตั งอิฐบล็อกเบาบนแนวผนัง<br />

และสำาหรับทำาเป็นโครงบานเปิดในส่วนระเบียง<br />

ชันที่ 2 และชันที่ 3 ผู้ออกแบบยังใช้วัสดุเหล็ก<br />

สำาหรับใช้เป็นบานประตูทางเข้าในส่วนชันล่าง<br />

เพ่อต้องการส่อสารการใช้วัสดุที่เป็นภาษา<br />

เดียวกันในทุกส่วนของอาคารสำนัักงานแห่งน้<br />

การจัดการพ่นที่ภายในอาคารสำนัักงาน ออก-<br />

แบบให้สามารถปรับเปลี่ยนพ่นที่ได้ตามแต่<br />

ช่วงเวลา และโอกาส เช่นชันที่ 1 จะเป็นส่วน<br />

ที่นัดพบปะ พูดคุยกับผู้ผลิตต่าง ๆ สำาหรับ<br />

การนำาเสนอผลิตภัณฑ์์ เป็นพ่นที่เสวนา แบ่งปัน<br />

ประสบการณ์ต่าง ๆ ในเชิงของการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมได้ หร่อยังเป็นพ่นที่สันทนาการ<br />

ของพนักงานได้อีกด้วย ส่วนห้องประชุมในชัน<br />

สอง สามารถปรับใช้นั่งทำางานได้หากต้องการ<br />

ความเป็นส่วนตัว และมีพ่นที่ระเบียงสำาหรับ<br />

กิจกรรมภายนอก ในส่วนของชันที่ 3 จะเป็น<br />

พ่นที่ทำางานหลักภายใต้หลังคาจั่วทรงสูง มี<br />

ชันลอย และเปิดพ่นที่เปิดโล่งสองชัน (Double<br />

Volume) สำาหรับเก็บตัวอย่างงาน และวัสดุ<br />

ในการออกแบบ<br />

ถึงแม้ในอาคารสตูดิโอมิติแห่งใหม่น้จะสร้างเสร็จ<br />

และใช้งานแล้ว แต่ทางผู้ออกแบบเช่อว่ากระ-<br />

บวนการทางสถาปัตยกรรมยังไม่แล้วเสร็จ และ<br />

ยังไม่หยุดนิง จึงยังคงมีความคิดอยากทดลอง<br />

ใหม่ ๆ กับอาคารสำนัักงานแห่งน้ โดยจากความ<br />

ตั งใจแรกที่ต้องการให้อาคารสามารถส่อสารกับ<br />

ทังผู้ใช้งานและบริบทแวดล้อม และเม่อพบว่า

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!