01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

89<br />

PPO อาจไมมีบทบาทโดยตรงตอการเกิดอาการ CI (สีน้ําตาล) ของใบพืชสกุลกะเพราเนื่องจากการ<br />

เก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา<br />

เอนไซมชนิดอื่นที่มีบทบาทเกี่ยวของกับการเกิดสีน้ําตาล ไดแก peroxidase (POD) และ<br />

PAL ซึ่งมีกิจกรรมในใบแกของโหระพาและแมงลักที่มีคาดัชนีการเกิดอาการ CI แตกตางกัน ใบ<br />

แมงลักและโหระพาปกติที่ยังไมเกิดอาการสะทานหนาว (CI index = 1) หรือเริ่มเกิดอาการสะทาน<br />

หนาวระดับสอง พบวากิจกรรมเอนไซม GPX ใบโหระพาสูงกวาใบแมงลัก แตเมื่อมีการพัฒนา<br />

อาการ CI เพิ่มมากขึ้นพบวาไมแตกตางกันทั้งสองสายพันธุ (ไมแสดงขอมูล) จะเห็นไดวาพันธุและ<br />

ความแกของใบที่มีความทนทานตออุณหภูมิต่ํามากกวา มีความสัมพันธกับกิจกรรมเอนไซม GPX<br />

ที่สูงกวา ดังนั้นบทบาทของเอนไซมชนิดนี้ในพืชสกุลกะเพรานาจะเกี่ยวของกับการเปนเอนไซม<br />

ตานอนุมูลอิสระมากกวาเอนไซมที่เกี่ยวของกับการเกิดสีน้ําตาล (Lamikanra, 2002) สําหรับ<br />

เอนไซม PAL ในใบแกแมงลักซึ่งมีความไวตออุณหภูมิต่ํามีกิจกรรมสูงขึ้นสอดคลองกับระดับความ<br />

รุนแรงของอาการสีน้ําตาล แตในใบแกโหระพาซึ่งมีความไวตออุณหภูมิต่ํานอยกวามีกิจกรรมของ<br />

เอนไซม PAL สูงขึ้นในชวงเริ่มเกิดอาการสะทานหนาว (CI index = 2) มีกิจกรรมเพิ่มขึ้นอยางมาก<br />

แตภายหลังจากมีการพัฒนาอาการสีน้ําตาลรุนแรงขึ้นกลับมีกิจกรรมลดลง แตการเปลี่ยนแปลงของ<br />

ปริมาณสารฟนอลลิกทั้งหมดในใบโหระพามีปริมาณลดลงระหวางการเกิดอาการ CI ที่รุนแรง<br />

เพิ่มขึ้น (ภาพที่ 13) ถาพิจารณาวิถีการสังเคราะหสารประกอบฟนอลิกในใบโหระพาพบวาการ<br />

ทํางานของเอนไซม PAL อยูในชวงเริ่มตนของวิถี โดยเรงปฏิกิริยาในการเปลี่ยนสารตั้งตน<br />

phenylalanine เปน cinnamic acid แลวจึงมีการเปลี่ยนแปลงเปนสารอื่นและมีเอนไซมอื่นอีก<br />

จํานวนมากทํางานรวม จนทายสุดจึงเปลี่ยนเปนสาร rosmarinic acid หรือ caffeic acid (Gang et<br />

al., 2001) จะเห็นไดวาเอนไซม PAL อาจมีบทบาทเฉพาะในชวงเริ่มตนของการสังเคราะหสาร<br />

ตัวกลางในวิถีการสังเคราะหสารประกอบฟนอลิก จึงอาจไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณ<br />

สารประกอบฟนอลิกทั้งหมด ดังนั้นจากผลการทดลองจึงอาจกลาวไดวาเอนไซม PAL ไมมี<br />

บทบาทเกี่ยวของการเกิดสีน้ําตาลในใบพืชสกุลกะเพราที่แสดงอาการ CI<br />

3. การใชสารเคมีบางชนิดและความรอนเพื่อลดอาการสะทานหนาวของใบพืชสกุลกะเพรา<br />

3.1 การใชสาร 1-methylcyclopropene (1-MCP)<br />

การใหสาร 1-MCP มีผลตอการลดการเกิดสีน้ําตาล และความผิดปกติจากอาการ<br />

สะทานหนาวในพืชผักและผลไมหลายชนิด ไดแก ผักกาดหอม แครอท อะโวคาโด สับปะรด และ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!