01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

แอปเปล รายงานวาในแอปเปลใบออนซึ่งมีความไวตออุณหภูมิต่ํามากกวามีการสะสมกรดไขมันไม<br />

อิ่มตัวนอยกวาใบแกที่มีความทนทานตออุณหภูมิต่ํามากกวา (Ketchi and Kuiper, 1979)<br />

นอกจากนั้นในใบออนอาจมีกระบวนการ oxidative stress นอยกวาใบแก เนื่องจากการเก็บรักษาที่<br />

อุณหภูมิต่ําชักนําใหมีกิจกรรมของเอนไซม CAT ในใบออนเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นยังพบวาในใบออน<br />

มีกิจกรรมเอนไซม GPX สูงกวาในใบแก จึงทําใหการปรากฏอาการ CI ในใบออนชากวาใบแกอยาง<br />

ชัดเจน<br />

ความชื้นสัมพัทธในการเก็บรักษาผลิตผลเปนปจจัยหนึ่งที่มีผลอยางมากตอการพัฒนา<br />

อาการ CI การเก็บรักษาในสภาพความชื้นสัมพัทธสูง สามารถลดความผิดปกติและความรุนแรง<br />

ของอาการสะทานหนาว และชะลอการเสื่อมสภาพของผลิตผลหลายชนิด (Wang, 2003) ผลการ<br />

ทดลองกับใบแมงลักชี้ใหเห็นวา การเก็บรักษาในสภาพความชื้นสัมพัทธสูง และปองกันไมใหพืช<br />

ขาดน้ํา โดยการบรรจุเปยก ชวยชะลอการพัฒนาอาการสะทานหนาวได (ภาพที่ 6) โดยมีน้ําหนักสด<br />

ของใบในระหวางการเก็บรักษาคอนขางคงที่ (ไมแสดงผล) สอดคลองกับผลการศึกษาในใบ<br />

แตงกวา ที่ทําการเก็บรักษาในความชื้นสัมพัทธระดับอิ่มตัว และอุณหภูมิต่ําสามารถยับยั้งการ<br />

สูญเสียน้ําหนัก เมื่อเปรียบเทียบกับใบที่เก็บในสภาพความชื้นต่ํากวา (Wright and Simon, 1973)<br />

2. การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและความเสียหายของเยื่อหุมเซลล<br />

การรั่วไหลของประจุ (EL) เปนคาที่ไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง ในการใชเปนตัวชี้วัด<br />

ความแตกตางของความไวตอการเกิดอาการสะทานหนาว (Campos et al., 2003; Lafuente et al.,<br />

2003, Maalekuu et al., 2006; Boonsiri et al., 2007) ซึ ่งสอดคลองกับผลการทดลองครั้งนี้ กลาวคือ<br />

ใบแมงลักที่มีความไวตออุณหภูมิต่ํามากกวามีคา EL สูงกวาใบโหระพาที่มีความไวตออุณหภูมิต่ํา<br />

นอยกวา และใบแกที่มีความไวตออุณหภูมิต่ํามีคา EL สูงกวาใบออน (ภาพที่ 7) นอกจากนั้นเมื่อ<br />

เปรียบเทียบเนื้อเยื่อบริเวณที่เกิดสีน้ําตาลและเนื้อเยื่อปกติที่แยกมาจากใบเดียวกัน พบวาการเพิ่มขึ้น<br />

ของคา EL ในเนื้อเยื่อที่เกิดสีน้ําตาลสอดคลองกับคาดัชนีอาการสะทานหนาวที่เพิ่มขึ้น แตสวนของ<br />

เนื้อเยื่อปกติที่แยกมาจากใบที่มีคาดัชนีอาการสะทานหนาวเพิ่มขึ้นกลับมีคา EL คงที่ (ภาพที่ 8)<br />

เปรียบเทียบความสัมพันธระหวางคา EL และคาดัชนีของอาการสะทานหนาว (CI index) มี<br />

ความสัมพันธเชิงบวก (R 2 = 0.92; P < 0.001) (ภาพผนวกที่ 4A) เปนการสนับสนุนวาคา EL<br />

สามารถใชเปนดัชนีบงชี้ความเสียหายของเซลลพืชทดลองได (Murata, 1990; Shewfelt, 1992;<br />

Friendman and Rot, 2006)<br />

83

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!